Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10292
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวลิต นิตยะ-
dc.contributor.authorกนกพร แสงแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2009-08-19T09:22:57Z-
dc.date.available2009-08-19T09:22:57Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743337741-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10292-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการศึกษาและวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์การศึกษาเพื่อศึกษาสภาพชุมชนหลังการรื้อย้าย โดยการโยกย้ายชุมชน (slum relocation) ไปอยู่ที่ใหม่ในลักษณะพิเศษ โดยพื้นที่ชุมชนใหม่ยังคงติดกับชุมชนเดิม ที่มุ่งเน้นจะศึกษาด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ความมั่นคงในการอยู่อาศัยศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบสภาพชุมชนหลังการรื้อย้ายกับวัตถุประสงค์ของโครงการที่ตั้งไว้เฉพาะในส่วนของผู้อยู่อาศัยและชุมชน เพื่อเสนอแนะแนวทางบางประการในการแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด โดยการย้ายชุมชนไปอยู่ในที่ใหม่ จากการศึกษาสภาพชุมชนหลังการรื้อย้าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ การใช้แบบสัมภาษณ์ การสำรวจภาคสนาม และการสังเกต รวบรวมข้อมูลจากผู้อยู่อาศัยในชุมชน จำนวน 293 ตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างแบบผสม (multistage sample) โดยขั้นแรกทำการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน (quota sample) แล้วทำการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (convenient sample) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ ค่าความถี่ ค่าสัดส่วน ร้อยละ จากการวิจัยพบว่า สภาพด้านกายภาพ เศรษฐกิจ ของผู้อยู่อาศัยในชุมชนดีขึ้นหลังการรื้อย้ายชุมชน ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่ตั้งไว้ แต่ยังมีปัญหายาเสพติดซึ่งผู้อยู่อาศัยคิดว่าเป็นปัญหาสังคมที่สำคัญของชุมชน ด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการของชุมชนเป็นไปตามมาตรฐานการอยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติ ยังขาดแต่การดูแลสาธารณูปการที่ดี ทำให้สภาพชุมชนยังไม่เป็นระเบียบ ผู้อยู่อาศัยส่วนใหญ่พอใจกับสาธารณูปโภคที่ดีขึ้น แต่ยังขาดความรู้สึกมั่นคงในที่อยู่อาศัยบ้าง เนื่องจากพื้นที่โครงการเป็นพื้นที่เช่า พร้อมทั้งมีทัศนคติว่าชุมชนนของตนเองมีสภาพโดยรวมค่อนข้างดี ไปไหนมาไหนสะดวก และไม่คิดจะย้ายออกจากชุมชนนี้ ดังนั้น การปรับปรุงชุมชนแออัด โดยการย้ายชุมชนไปอยู่ในที่ใหม่ควรให้ความสภคัญต่อการดูแลชุมชนหลังการรื้อย้าย และปัญหาด้านสังคมที่จะเกิดขึ้นในชุมชนด้วย พร้อมทั้งความจริงจังในการทำงานของเจ้าหน้าที่ทุกๆ ฝ่าย เพื่อให้การปรับปรุงชุมชนแออัดประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ในทุกประการen
dc.description.abstractalternativeThis thesis was aimed to studying pre-relocation and post-relocation process of Muban Padtana, one of the Klong Taey slum community. With respect to physical and social-economic cohesion along with community management. It also focused on comparing and assessing Muban Patana's existing condition with the National Housing Authority (NHA.) objectives in this relocation project. Methods used to gather data in the drawn from 293 residents in the community by means of the multistage sample technique, first step quota sample and convenient sampling. The data was analyzed and presented in statistics, frequency, ratio and percentage terms. The results showed that, on the one hand, the residents' physical and social-economic conditions have been improved after relocation, which corresponded with the objectives of the NHA. project. But, on the other hand, the drug problem is still considered a crucial issue within the community. Most residents also feel insecure about the land tenure because the project plots are only for renting. However, they have been satisfied with their basic infrastructure and they also have a positive attitude about their community; they believe it is convenience to live there and, therefore, do not want to move out from this community.en
dc.format.extent1159118 bytes-
dc.format.extent1014632 bytes-
dc.format.extent2209090 bytes-
dc.format.extent3038764 bytes-
dc.format.extent2012448 bytes-
dc.format.extent5054701 bytes-
dc.format.extent1640283 bytes-
dc.format.extent3084167 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโครงการชุมชนหมู่บ้านพัฒนา 70 ไร่ คลองเตยen
dc.subjectการย้ายที่อยู่อาศัยen
dc.subjectชุมชนแออัดen
dc.titleการเปลี่ยนแปลงชุมชนหลังการรื้อย้าย : ชุมชนหมู่บ้านพัฒนา 70 ไร่ คลองเตยen
dc.title.alternativeCommunity changes after relocation : 70 rais Patana Village, Klong Toeyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChawalit.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanokporn_Sa_front.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Kanokporn_Sa_ch1.pdf990.85 kBAdobe PDFView/Open
Kanokporn_Sa_ch2.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open
Kanokporn_Sa_ch3.pdf2.97 MBAdobe PDFView/Open
Kanokporn_Sa_ch4.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open
Kanokporn_Sa_ch5.pdf4.94 MBAdobe PDFView/Open
Kanokporn_Sa_ch6.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open
Kanokporn_Sa_back.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.