Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11777
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พร้อมพรรณ อุดมสิน | - |
dc.contributor.author | ปรุง อินทมาตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2009-12-08T07:48:54Z | - |
dc.date.available | 2009-12-08T07:48:54Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743312757 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11777 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลของการใช้คำถามระดับสูงที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในด้าน ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ และการวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. เพื่อศึกษาผลของการใช้คำถามระดับสูงที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในด้านความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ และการวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลางและต่ำ 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในด้านความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้และการวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนเรียนและหลังเรียนจากการใช้คำถามระดับสูง 4. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในด้านความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้และการวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ หลังจากที่เรียนจากการใช้คำถามระดับสูง ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 106 คน ในระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลางและต่ำ ผู้วิจัยดำเนินการสอนโดยใช้คำถามระดับสูงกับตัวอย่างประชากร แล้วทดสอบด้วยแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนจากการใช้คำถามระดับสูง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในด้านความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ และการวิเคราะห์ต่ำกว่าเกณฑ์ร้อยละ 85 ที่กำหนดไว้ทุกด้าน 2. นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ในด้านความรู้ ความจำความเข้าใจ และการนำไปใช้สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 85 ที่กำหนดไว้ ส่วนด้านการวิเคราะห์ต่ำกว่าเกณฑ์ร้อยละ 85 ที่กำหนดไว้ และนักเรียนที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์ปานกลางและต่ำ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ต่ำกว่าเกณฑ์ร้อยละ 85 ที่กำหนดไว้ทุกด้าน 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในด้านความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ และการวิเคราะห์ หลังเรียนจากการใช้คำถามระดับสูง สูงกว่าก่อนเรียนทุกด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4. นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สูงกว่านักเรียนที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์ปานกลาและระดับต่ำ ในทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์ปานกลางมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สูงกว่านักเรียนที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์ต่ำในด้านความรู้ความจำ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านการวิเคราะห์ไม่แตกต่างกัน | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: 1. to study the effects of using higher-order questions on mathematics learning achievement in the aspects of computation, comprehension, application and analysis of mathayom suksa three students. 2. to study the effects of using higher-order questions on mathematics learning achievement in the aspects of computation, comprehension, application and analysis of mathayom suksa three students with high, medium and low mathematics learning levels. 3. to compare the mathematics learning achievement in the aspects of computation, comprehension, application and analysis of mathayom suksa three students before and after learning by using higher-order questions. 4. to compare the mathematics learning achievement in the aspects of computation, comprehension, application and analysis of mathayom suksa three students with high, medium and low mathematics learning levels after learning by using higher-order questions. The samples were 106 mathayom suksa three students with high, medium and low mathematics learning levels. The researcher taught the samples by using higher-order questions. The mathematics learning achievement test was then administered to this samples. The data were analyzed by means of arithmetic means, standard deviation, t-test and one-way analysis of variance. The research results were revealed that: 1. the mathayom suksa three students who learned by using higher-order questions had mathematics learning achievement in the aspects of computation, comprehension, application and analysis lower than the criteria of 85 percent. 2. the high mathematics learning level students had mathematics learning achievement in the aspects of computation, comprehension and application higher than the criteria of 85 percent but the aspect of analysis was lower than the criteria of 85 percent. The medium and low mathematics learning level students had mathematics learning achievement in the aspects of computation, comprehension, application and analysis lower than the criteria of 85 percent. 3. the mathayom suksa three students had higher mathematics learning achievement in the aspects of computation, comprehension, application and analysis after learning by using higher-order questions than that before learning by using higher-order questions at the 0.05 level of significance. 4. the high mathematics learning level students had higher mathematics learning achievement than the medium and low mathematics learning level students in all aspects at the 0.05 level of significance. The medium mathematics learning level students had higher mathematics learning achievement than the low mathematics learning level in the aspects of computation, comprehension and application at the 0.05 level of significance but there was no difference in the aspect of analysis. | en |
dc.format.extent | 1018959 bytes | - |
dc.format.extent | 829052 bytes | - |
dc.format.extent | 1054617 bytes | - |
dc.format.extent | 780616 bytes | - |
dc.format.extent | 799022 bytes | - |
dc.format.extent | 776680 bytes | - |
dc.format.extent | 1166737 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | en |
dc.subject | คำถามและคำตอบ | en |
dc.title | ผลของการใช้คำถามระดับสูงที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 | en |
dc.title.alternative | Effects of using higher-order questions on mathematics learning achievement of mathayom suksa three students | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การศึกษาคณิตศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Prompan.U@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Proong_In_front.pdf | 995.08 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Proong_In_ch1.pdf | 809.62 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Proong_In_ch2.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Proong_In_ch3.pdf | 762.32 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Proong_In_ch4.pdf | 780.29 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Proong_In_ch5.pdf | 758.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Proong_In_back.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.