Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22059
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนัสวาสน์ โกวิทยา-
dc.contributor.authorอัมพิกา แสงปิ่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-09-09T15:06:07Z-
dc.date.available2012-09-09T15:06:07Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22059-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์เพลงพื้นบ้านภาคกลางสำหรับนักศึกษานอกระบบ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนนทบุรี (2) เพื่อทดลองใช้หลักสูตรท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์เพลงพื้นบ้านสำหรับนักศึกษานอกระบบ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนนทบุรี (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษานอกระบบ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนนทบุรี ที่มีต่อการจัดหลักสูตรท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์เพลงพื้นบ้าน ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรท้องถิ่นเกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน และนักศึกษานอกระบบ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนนทบุรี ขั้นตอนการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์เพลงพื้นบ้านสำหรับนักศึกษานอกระบบ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนนทบุรี ระยะที่ 2 ทดลองใช้หลักสูตรท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์เพลงพื้นบ้านสำหรับนักศึกษานอกระบบ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนนทบุรี ระยะที่ 3 ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษานอกระบบ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนนทบุรี ที่มีต่อการจัดหลักสูตรท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์เพลงพื้นบ้าน ผลการวิจัยสรุปว่า 1.ผู้วิจัยได้หลักสูตรท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์เพลงพื้นบ้านภาคกลางที่ดำเนินการตามแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรรากหญ้าของ Taba (1962) 7 ขั้นตอน มีองค์ประกอบหลัก 4 ข้อ คือ 1.วัตถุประสงค์ 2. เนื้อหา 3. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 4.ประเมินผล 2.ระดับความรู้ ทักษะ และทัศนคติในการอนุรักษ์เพลงพื้นบ้านของกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมหลักสูตรมีความแตกต่างกันทั้งก่อนและหลังเข้าร่วมหลักสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.กลุ่มทดลองมีความพึงพอใจในหลักสูตรท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์เพลงพื้นบ้านอยู่ในระดับมากen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were (1) to develop local curriculum to conserve central Thai folk song for non – formal students in Nonthaburi provincial office of the non – formal and informal education. (2) to experiment the local curriculum to enhance central Thai folk song conservation for non – formal education students in Nonthaburi provincial office of the non – formal and informal education. (3) to study participants’ satisfaction toward the organizing local curriculum to enhance central Thai folk song conservation for non – formal education students in Nonthaburi provincial office of the non – formal and informal education. Populations of this research were local curriculum experts. The research was divided into 3 steps : 1. Development of local curriculum to enhance central Thai folk song conservation for non – formal education students in Nonthaburi provincial office of the non – formal and informal education. 2. Experiment local curriculum to enhance central Thai folk song conservation for non – formal education students in Nonthaburi provincial office of the non – formal and informal education. 3. Studying participants’ satisfaction toward the organizing local curriculum to enhance central Thai folk song conservation for non – formal education students in Nonthaburi provincial office of the non – formal and informal education. The research findings were as follows : 1) The processes of developing local curriculum to enhance central Thai folk song conservation for non – formal education students in Nonthaburi provincial office of the non – formal and informal education based on Taba (1962) grass – root curriculum 7 procedures consists of object content organization of learning experiences and evaluation.2) The Score of knowledge skill and attitude increased higher than the prior experimental with statistic significant at level of .05 3) The experimental group was satisfied with the activities at high level.en
dc.format.extent2240996 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.675-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษาต่อเนื่องen
dc.subjectเพลงพื้นเมือง -- ไทย -- นนทบุรีen
dc.subjectการอนุรักษ์ดนตรี -- ไทย -- นนทบุรีen
dc.titleผลของการจัดหลักสูตรท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์เพลงพื้นบ้านสำหรับนักศึกษานอกระบบ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนนทบุรีen
dc.title.alternativeEffects of organizing local curriculum to enhance central thai folk song conservation for non-formal education students in Nonthaburi Provincial Office of The Non – Formal and Informal Educationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.675-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ampika_sa.pdf2.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.