Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา กาญจนทวีวัฒน์
dc.contributor.authorบุญชัย บุญสิตานารา
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-08T11:03:42Z
dc.date.available2012-11-08T11:03:42Z
dc.date.issued2544
dc.identifier.isbn9740307418
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23457
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบจากการเย็นตัวลงของพอร์ชเลนเฟลด์สปาร์ (FP) ภายหลังการเผาในสภาวะต่างตัน 2 แบบคือ การเย็นตัวอย่างรวดเร็ว (F)และการเย็นตัวอย่างช้า (S)โดยศึกษาตอนที่ I) ผลกระทบต่อปริมาณผลึกลูไซต์ ตอนที่ II) ค่าสัมประสิทธ์การขยายตัวเหตุความร้อนของพอร์ชเลน ตอนที่ III) ค่ากำลังดัดขวาง ตอนที่ IV) ลักษณะการเกิดผลึกลูไซต์ และตอนที่ V) ความทึบแสง โดยใช้พอร์ชเลนเฟลด์สปาร์ทั้งหมด 4 ชนิดคือ 1)ชนิดโอพอลเลสเซนต์ (Vintage Halo, shofu Inc.): 2)ชนิดดั้งเดิม (Vita Omega 900,Vita Zahnfabrik); 3) ชนิดลูไซต์สังเคราะห์ (Noritake Super porcelain Ex-3, Noritake Kizai) และ 4) ชนิดเจือฟลูออโรอะปาไธต์ (IPS d.SIGN. Ivoclar) รวมเป็น 8 กลุ่ม ซึ่งแต่ละกลุ่มแบ่งการทดลองออกเป็น 5 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1) เตรียมลูไซต์มาตรฐานและตัวอย่างทดสอบของ FP 80 ตัวอย่าง โดยทดสอบด้วยเครื่องวัดการกระเจิงของรังสีเอกซเรย์ และหาค่าร้อยละโดยน้ำหนักของปริมาณลูไซต์ (LEU.wt%): ตอนที่ II)เตรียมแท่ง FP ขนาด 2x1.5x5 มม. จำนวน 8 กลุ่ม นำมาทดสอบด้วยเครื่องวัดการขยายตัว เพื่อวัดค่าสัมประสิทธ์การขยายตัวเหตุความร้อน (α,x10-10/o ซ) : ตอนที่ III) เตรียมแท่งตัวอย่าง FP เคลือบทับบนโลหะผสมไร้สกุล ขนาด 2x1.5x25 มม. จำนวน 80 ตัวอย่าง เพื่อหาค่ากำลังดัดขวาง (MOR, MPa) ด้วยเครื่องทดสอบสากล โดยให้ FP อยู่ด้านแรงดึงสูงสุด; ตอนที่ IV) นำแผ่นกลม FP ของทั้ง 8 กลุ่ม มากัดด้วยกรดไฮโดรฟลูออกริก (HF) ร้อยละ 0.1 เป็นเวลา 20 นาที และชุบด้วยทองพลาเดียม เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดของผลึกโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสองกราด; ตอนที่ V) เตรียมแผ่นกลม FP ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 มม. หนา 1.5 มม. จำนวน 80 ตัวอย่าง เพื่อวัดค่าความทึบแสง (Y%) ด้วยเครื่องเทียบสี นำข้อมูลของตอนที่ I IIII และV วิเคราะห์โดยใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนและการทดสอบแบบทูกีย์ ผลการศึกษาเป็นดังนี้ ค่าเฉลี่ย (x bar±SD)ของLEU, α, MOR, Y%) กลุ่ม 1F) 15.83±1.20, 13.0, 120.31±26.73, 86.37±1.65 กลุ่ม 1S) 18.75±2.08, 15.1, 97.26±26.79,84.95±2.12 กลุ่ม2F)20.09±1.15, 13.3, 113.47±23.98, 91.21±0.72 กลุ่ม 2S) 19.70±1.20, 17.3, 93.58±15.06, 90.70±1.04 กลุ่ม 3F)20.20±2.04, 117.09±28.88, 72.82±1.13 กลุ่ม 3S) 21.33±1.46, 15.4, 127.34±39.18, 71.83±1.19 กลุ่ม 4F) 8.28 ±1.83, 12.0, 110.94±28.99, 87.35±1.35 กลุ่ม4S) 8.37 ±2.47ม, 15.1, 122.40±20.50, 87.39 ±1.02 ส่วนภาพถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดพบว่า กลุ่ม S ปริมาณของผลึกลูไซต์มีขนาดใหญ่กว่ากลุ่ม F และในพอร์ซเลนเฟลด์สปาร์ชนิดเดียวกันในภาวะเย็นตัวต่างกัน มีค่าเฉลี่ยร้อยละโดยน้ำหนักของปริมาณลูไซต์ ค่ากำลังดัดขวาง และค่าความทึบแสง/ค่าความโปร่งแสง ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p>0.05) แต่ค่า α ของฟอร์ซเลนเฟลด์สปาร์ภายใต้การเย็นตัวอย่างช้ามีค่าสูงกว่าในทุกกลุ่ม และในภาวะการเย็นตัวลงอย่างเดียวกัน พบว่าพอล์ซเลนเฟลด์สปาร์ชนิดลูไซต์สังเคราะห์มีค่าความโปร่งแสงมากที่สุด และพอร์ซเลนเฟลด์สปาร์ชนิดเจือฟลูออโรอะปาไธต์มีค่าเฉลี่ยร้อยละโดยน้ำหนักของผลึกลูไซต์น้อยที่สุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) และเป็นพอร์ซเลนเพียงชนิดเดียวที่เกิดผลึกฟลูออโรอะปาไธต์ ซึ่งเป็นผลึกที่แสดงคุณสมบัติเด่นของพอร์ซเลนกลุ่มนี้ ดังนั้นการเลือกภาวะการเย็นตัวของพอร์ซเลนเฟลด์สปาร์ควรคำนึงถึงผลต่อ α ของพอร์ซเลนเฟลด์สปาร์ซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการเลือกชนิดของโลหะ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to evaluate the effect of two different cooling conditions of feldspathic porcelain (FP), i.e.fast cooling (F) and slow cooling (S) on: Part I) leucite weight fraction, Part II) the coefficient to thermal expansion of FP, Part III) flexural strength of strength of porcelain-fused-to-metal systems (PFMs), Part IV) microstructure evaluation, and Part V) opacity. The 4 types of FP used were: Type 1) Opalescence FP (Vintage Halo, Shofu Inc.), Type 2) Conventeional FP(Vita Omega 900, vita Zahnfabrik), Type 3) Synthetic leucite FP (Noritake Super porcelain Ex-3, noritake Kizai), and Type 4) Fluorapatite glass-ceramic FP (IPS d.SIGN, Ivoclar). The total of 8 Groups were then subjected to 2 cooling procedures: F and S. The study was divided into 5 part I) Standards leucite and FP of 8 groups (80 specimens) were prepared for a quantitative X-ray diffraction analysis. The corrected intensity ratios were used to calculate the weight percent of leucite (LEU, wt%. Part II) FP bars of 8 groups (2x1.5x5 mm), were fabricated. Dilatometric analysis (α,x10-6/oC) was performed on the bars using a dilatometer. Part III) 80 PFM bars (2x1.5x25 mm), were fabricated and randomly divided into 8 groups, (10 bars/group). The PFM bars were placed in a flexural test device subjected to three-point bending in an instron testing machine, placing FP on maximum tension. The flexural strength (MOR, MPa) was calculated from the load of failure Part IV) The microstructure of FP specimens disc (8 groups) were charactenzed by a scanning electron microscopy. The specimen discs were etched with 0.1% hydrofluoric acid (HF) solution, and then coated with gold-palladium particles. Part V) 80 FP discs having 15 mm in diameter and 1.5 mm in height, were fabricated and randomly divided into 8 groups (10 discs/group). The FP discs were placed in an opacity test device using a spectrophotometer (Y%). ANOVA and Tukey’s statistical analyses of part I, III and V revealed the Mean ([x bar]±SD) of LEU, α, MOR, Y%) : Group 1F) 15.83±1.20, 13.0, 120.31±26.73, 86.37±1.65; Group 1S) 18.75±2.08, 15.1, 97.26±26.79,84.95±2.12; Group2F)20.09±1.15, 13.3, 113.47±23.98, 91.21±0.72; Group2S) 19.70±1.20, 17.3, 93.58±15.06, 90.70±1.04; Group3F) 20.20±2.04, 117.09±28.88, 72.82±1.13; Group 3S) 21.33±1.46, 15.4, 127.34±39.18, 71.83±1.19; Group4F) 8.28 ±1.83, 12.0, 110.94±28.99, 87.35±1.35; Group4S) 8.37 ±2.47, 15.1, 122.40±20.50, 87.39 ±1.02 The microstructure of slow cooling FP demonstrated and increase in leucite crystals and higher α. FP subjected to different cooling conditions, showed no significant difference in the amount of leucite crystals, flexural strength, and opacity/translucency. When comparing within the same cooling conditions, FP containing synthetic leucite crystals gave the highest translucency, whereas fluorapatite glass ceramic gave the least amount of leucite crystals (p≤0.05), and was the only group that contained with fluorapatite crystals, by which the main characteristic was dominated. In conclusion, the selection of cooling condition is recommended as it is the cause of porcelain-metal thermal incompatibility.
dc.format.extent4253230 bytes
dc.format.extent2339304 bytes
dc.format.extent7171762 bytes
dc.format.extent8750983 bytes
dc.format.extent13490867 bytes
dc.format.extent2743096 bytes
dc.format.extent700119 bytes
dc.format.extent8853004 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของสภาพการเย็นตัวที่มีต่อปริมาณลูไซต์ของพอร์ซเลนเฟลด์สปาร์en
dc.title.alternativeEffects of cooling conditions on leucite content of feldspathic porcelainen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineทันตกรรมประดิษฐ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Boonchai_bo_front.pdf4.15 MBAdobe PDFView/Open
Boonchai_bo_ch1.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open
Boonchai_bo_ch2.pdf7 MBAdobe PDFView/Open
Boonchai_bo_ch3.pdf8.55 MBAdobe PDFView/Open
Boonchai_bo_ch4.pdf13.17 MBAdobe PDFView/Open
Boonchai_bo_ch5.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open
Boonchai_bo_ch6.pdf683.71 kBAdobe PDFView/Open
Boonchai_bo_back.pdf8.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.