Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25390
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนทร ณ รังษี | |
dc.contributor.author | ชเอิญศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-22T10:19:20Z | |
dc.date.available | 2012-11-22T10:19:20Z | |
dc.date.issued | 2517 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25390 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาเรื่องอัตตาและอนัตตาของพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทในแง่ของปรัชญา งานวิจัยนี้แบ่งเป็น 7 บท รวมทั้งบทนำและบทสรุป บทแรกคือบทนำ กล่าวถึง ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย ความสำคัญและประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัยนี้ และอธิบายศัพท์เฉพาะศาสตร์บางคำ บทที่ 2 ระบุถึงพื้นฐานความคิดทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับเรื่อง อัตตาหรือตัวตนในปรัชญาตะวันตกและปรัชญาอินเดีย โดยเปรียบเทียบความคล้ายคลึงและความแตกต่างกัน บทที่ 3 เป็นเนื้อหาโดยตรงของการวิจัย ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนแรกอธิบายพุทธปรัชญาเรื่องสมมติอัตตา ซึ่งมีความสอดคล้องกับเรื่องอนัตตาในขั้นปรมัตถ์ ตอนที่ 2 ให้รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องไตรลักษณ์หรือสามัญลักษณะ และในตอนสุดท้ายอธิบายเรื่องอนัตตาอันเป็นพื้นฐานของพุทธปรัชญา โดยเปรียบเทียบกับความคิดปรัชญาระบบอื่นๆ ที่อยู่ในแนวเดียวกัน บทที่ 4 ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างตัวตนและโลก ในแง่ที่เกี่ยวข้องกับทัศนะเรื่องกรรมและการเกิดใหม่ บทที่ 5 แสดงถึงการเกิดขึ้นและดับลงของตัวตน โลก และความทุกข์ โดยใช้หลักปฏิจจสมุปบาท บทที่ 6 วิจารณ์เรื่องเกี่ยวกับสัมบูรณภาพหรือนิพพาน ซึ่งเป็นการสิ้นสุดแห่งตัวตนและความทุกข์ และเป็นสิ่งที่ประเสริฐที่สุดตามทัศนะของพุทธปรัชญา บทสุดท้ายคือ บทสรุปของงานวิจัยนี้ สรุปผลว่าการที่พุทธปรัชญาไม่พยายามสร้างระบบอภิปรัชญาทำให้เกิดอภิปรัชญาในแนวใหม่คือแนวอนัตตวาท ซึ่งเป็นคำสอนที่มีลักษณะเด่น โดยเฉพาะของพุทธปรัชญา | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this, thesis is to study philosophically the concepts of Self (atta̅) and Not-Self (anatta̅) in Therava̅da Buddhism. This research work consists of 7 chapters including the introduction and the conclusion. The first one is the Introduction covering the general problem, the purpose, the scope, the method of analysis, the significance or the benefits of this study and the explanation of some nomenclatures. The Second chapter gives the general background of the philosophical thinking regarding the concept of Self in Western Philosophy as well as that of Indian Philosophy and indicates the similarity and differences between them. The third chapter contitutes the main theme of the research, divided into 3 phases: the first one explains the Buddhist conception of empirical self which is in conformity with the concept of not-self in the absolute sense. The second phase gives a detailed description of the Three Signs of Being and the last one [interprets] the Buddhist concept of not-self which is its fundamental [characteristic], compared with the notions of other philosophical systems of the same trait. The fourth chapter studies the relation between the self and the world in connection with the concepts of karma and rebirth. The fifth chapter demonstrates the arising and ceasing of the self, the world and suffering by the Law of Dependent Origination. In the sixth chapter, an attempt is made on a critical consideration of the concept of the Absolute or Nirvana, the end of self and suffering which is the summum bonum in Buddhist Philosophy. The last chapter is the conclusion of the research concerning the unique characteristic of the Buddhist conception of the not-self or no-self (anatta̅). In spite of eliminating metaphysics, the Buddha presented the new metaphysical system of anattava̅da. | |
dc.format.extent | 342516 bytes | |
dc.format.extent | 365932 bytes | |
dc.format.extent | 1034668 bytes | |
dc.format.extent | 1989505 bytes | |
dc.format.extent | 1000791 bytes | |
dc.format.extent | 752419 bytes | |
dc.format.extent | 927441 bytes | |
dc.format.extent | 472197 bytes | |
dc.format.extent | 371514 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องอัตตาและอนัตตาในพุทธปรัชญาฝ่ายเถรวาท | en |
dc.title.alternative | An analytical study of the concepts of self (Atta) and not-self (Anatta) in theravada philosophy | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ปรัชญา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Cha-urnsri_Is_front.pdf | 334.49 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Cha-urnsri_Is_ch1.pdf | 357.36 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Cha-urnsri_Is_ch2.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Cha-urnsri_Is_ch3.pdf | 1.94 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Cha-urnsri_Is_ch4.pdf | 977.33 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Cha-urnsri_Is_ch5.pdf | 734.78 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Cha-urnsri_Is_ch6.pdf | 905.7 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Cha-urnsri_Is_ch7.pdf | 461.13 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Cha-urnsri_Is_back.pdf | 362.81 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.