Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29181
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุมา สุคนธมาน-
dc.contributor.advisorสุมน อมรวิวัฒน์-
dc.contributor.authorมยุรี วิมลโสภณกิตติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-02-28T12:03:20Z-
dc.date.available2013-02-28T12:03:20Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746311883-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29181-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ที่มีต่อการสร้างมโนทัศน์ประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในด้านการนับถือในเอกัตบุคคล การมีส่วนร่วม การเคารพในเหตุผล และการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการทดลอง คือนักเรียนโรงเรียนบ้านดงขุย (ดงขุยวิทยาคาร) อำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองที่ 1 จำนวน 30 คน ได้รับการสอนตามกระบวนการเผชิญสถานการณ์ และกลุ่มทดลองที่ 2 จำนวน 30 คน ได้รับการสอนตามกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่เรียนโดยใช้กระบวนการเผชิญสถานการณ์ มีมโนทัศน์ประชาธิปไตยในด้านการนับถือในเอกัตบุคคล การมีส่วนร่วม และการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี สูงกว่าก่อนสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนมโนทัศน์ประชาธิปไตยในด้านการเคารพในเหตุผลไม่แตกต่างกัน 2. นักเรียนที่เรียนโดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์มีมโนทัศน์ประชาธิปไตย ในด้านการนับถือในเอกัตบุคคล การเคารพในเหตุผล และการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี สูงกว่าก่อนสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนมโนทัศน์ประชาธิปไตยในด้านการมีส่วนร่วมไม่แตกต่างกัน 3. นักเรียนที่เรียนโดยใช้กระบวนการเผชิญสถานการณ์มีมโนทัศน์ประชาธิปไตยในด้านการนับถือเอกัตบุคคล การมีส่วนร่วม และการเคารพในเหตุผล สูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนที่เรียนโดยใช้กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์มีมโนทัศน์ประชาธิปไตยในด้านการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of using conflict situation process and group process on developing concepts of democracy to prathom suksa five students. The concepts of democracy are respective for individual, participation, respecting for reason and problem solving by peaceful means. The subjects were composed of 2 groups. The experimental group 1 of thirty students was taught by using conflict situation process while thirty students in the experimental group 2 by the group process. The data were analyzed by using means, standard deviation and test of significant differences (t-test). Findings : 1. The concepts of democracy in respecting for individual, participation and problem solving by peaceful means of the experimental group taught by using conflict situation process from the post-test was significantly higher than that from the pre-test at the .05 level and the concept of democracy in respecting for reason from the post-test and pre-test was not different. 2. The concepts of democracy in respecting for individual, respecting for reason and problem solving by peaceful means of the experimental group taught by the group process from the post-test was significantly higher than that from the pre-test at the.05 level and the concept of democracy in participation from the post-test and pre-test was not different. 3. The concepts of democracy in respecting for individual, participation and respecting for reason of the experimental group taught by using conflict situation process was significantly higher than the experimental group taught by the group process at the .05 level. 4. The concept of democracy in problem solving by peaceful means of the experimental group taught by using conflict situation process and the group process was not vary significantly at the.05 level.-
dc.format.extent5961335 bytes-
dc.format.extent8152444 bytes-
dc.format.extent40246050 bytes-
dc.format.extent11348698 bytes-
dc.format.extent8416752 bytes-
dc.format.extent11443076 bytes-
dc.format.extent102881068 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectประชาธิปไตย -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
dc.subjectความคิดรวบยอด-
dc.subjectกิจกรรมเสริมหลักสูตร-
dc.titleผลของการใช้กระบวนการเผชิญสถานการณ์และกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ที่มีต่อการสร้างมโนทัศน์ประชาธิปไตย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en
dc.title.alternativeEffects of using conflict situation process and group process on developing concepts of democracy to prathom suksa five studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mayuree_vi_front.pdf5.82 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_vi_ch1.pdf7.96 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_vi_ch2.pdf39.3 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_vi_ch3.pdf11.08 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_vi_ch4.pdf8.22 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_vi_ch5.pdf11.17 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_vi_back.pdf100.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.