Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45634
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปารีณา ศรีวนิชย์en_US
dc.contributor.authorอรัญญา บุญธรักษาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:03:49Z-
dc.date.available2015-09-17T04:03:49Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45634-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการคุกคามล่วงละเมิดผู้อื่นทางอินเทอร์เน็ต หรือ Cyber Harassment เป็นการกระทำใดๆอันมีลักษณะคุกคาม ข่มขู่ ล่วงละเมิดบุคคลอื่นทำให้บุคคลนั้นเกิดความกลัว ความหวาดระแวง รู้สึกรำคาญ รู้สึกอับอาย ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อจิตใจทำให้เกิดความเครียด กลายเป็นบุคคลซึมเศร้า เก็บกด ไม่กล้าเข้าสังคมหรืออาจถึงขั้นฆ่าตัวตายได้ โดยการกระทำต่างๆเหล่านี้ได้มีการกระทำผ่านทางเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีความเจริญก้าวหน้าในปัจจุบัน ทำให้ผู้กระทำความผิดสามารถกระทำความผิดได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยไม่ต้องเปิดเผยตัวตน ซึ่งการกระทำเหล่านี้ย่อมส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพในความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น จากผลการศึกษาพบว่าประเทศไทยไม่มีบทบัญญัติกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวกับการคุกคามล่วงละเมิดผู้อื่นทางอินเทอร์เน็ต หากเกิดการกระทำดังกล่าวขึ้นจึงจำเป็นต้องนำบทบัญญัติในพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ประมวลกฎหมายอาญาและประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ใช้อยู่ปัจจุบันมาปรับใช้ ซึ่งจากการศึกษาพบว่ากฎหมายที่ใช้บังคับอยู่นั้นไม่มีความครอบคลุมและไม่อาจให้ความคุ้มครองแก่ผู้เสียหายได้อย่างเพียงพอ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงได้เสนอแนวทางในการบัญญัติกฎหมายเพื่อนำมาบังคับใช้กับการกระทำคุกคามล่วงละเมิดผู้อื่นทางอินเทอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยศึกษาจากกฎหมายต่างประเทศ คือประเทศสหรัฐอเมริกา เช่น การบัญญัติเป็นฐานความผิดทางอาญาโดยเฉพาะ, การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายต่อจิตใจจากการกระทำดังกล่าว เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการบังคับใช้กับประเทศไทยสำหรับการกระทำการคุกคามล่วงละเมิดผู้อื่นทางอินเทอร์เน็ตหรือการติดต่อสื่อสารอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพen_US
dc.description.abstractalternativeCyber harassment is a behavior involving acts of threaten, intimidate, offensive and harass of another person. It have an effect on another person such as strain, sadden, repress, agoraphobia, panic attack and bring to commit suicide. This crime can be performed when using the internet (via e-mail, instant messages, post photo or personal information on web board etc.). A criminal can violate conveniently and suddenly without to show oneself. This behavior interferes a person’s privacy and will cause annoyance, fear or mental distress to the victim and it cause other severs damages in the future. In Thailand, there is no particular law against cyber harassment. Only some parts of the current criminal code, civil code and computer crime act B.E. 2550 related to such actions may be considered applicable when cyber harassment taking place. The study shows that the existing laws do not cover all actions pertaining to cyber harassment. Accordingly, it is requisite to determine the proper in order to protect the victim of cyber harassment which are used in The United States such as, to enact cyber harassment offense as an offence. In this regard, Cyber harassment should be included as an offence in the Computer crime Act B.E.2550. Appropriate measures should also be introduced as well as civil liability for tort claim by victim should be classified. These reform process will deter the criminal from committing unlawful act.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1022-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความรับผิดทางอาญา
dc.subjectการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ต
dc.subjectอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
dc.subjectCriminal liability
dc.subjectOnline Harassment
dc.subjectComputer crimes
dc.titleความรับผิดทางอาญาของผู้คุกคามล่วงละเมิดผู้อื่นทางอินเทอร์เน็ตen_US
dc.title.alternativeCRIMINAL LIABILITY FOR CYBER HARASSMENT.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPareena.S@Chula.ac.th,pareena.lawchula@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1022-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5586042434.pdf3.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.