Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64340
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาชัญญา รัตนอุบล-
dc.contributor.authorอรทัย ศักดิ์สูง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-12T05:09:44Z-
dc.date.available2020-03-12T05:09:44Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743339728-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64340-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาวิธีการสอนและวิเคราะห์ความสอดคล้อง ระหว่างทฤษฎี แอนดราโกจี ของ มัลคัม โนลส์ กับวิธีการสอนในหลักสูตรผู้บริหารสถานศึกษา ระดับสูง ของสถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา ใน 4 ด้าน คือ 1) มโนทัศน์ของผู้เรียน 2) ประสบการณ์ของผู้เรียน 3) ความพรัอมในการเรียนรู้ 4) แนวทางการเรียนรู้ โดยศึกษาจาก กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เข้าร่วมหลักสูตรผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูง รุ่นที่ 1-3 ลังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2543 จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบสังเกต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า วิทยากรในหลักสูตรผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูง ของสถาบัน พัฒนาผู้บริหารการศึกษา ไดัใช้วิธีการสอนตามทฤษฎี แอนดราโกจี ของ มัลคัม โนลส์ โดยไดันำ มาปฏิบัติในระดับมาก (x̅ = 3.84) และมีความสอดคล้องระหว่างทฤษฎี แอนดราโกจี ของ มัลคัม โนลส์ ในด้านมโนทัศน์ของผู้เรียน ประสบการณ์ของผู้เรียน ความพร้อมในการเรียนรู้ และแนวทาง การเรียนรู้ กับวิธีการสอนในหลักสูตรผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูง รุ่นที่ 1-3 ของสถาบันพัฒนา ผู้บริหารการศึกษา อยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.84)-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were firstly, to study teaching methods using เท high ranking educational administrators curriculum of the Institute for Development of Educational Administrators. Secondly, to analyze the congruence between teaching methods and the Malcolm Knowles’ Theory of Andragogy เท four aspects: Self - concept, Experience, Readiness to learn and Orientation to learning. The samples were 120 trainees participating in high ranking educational administrators curriculum. The instruments for gathering data were questionnaire and observational guide lines. The data were then analyzed by frequency distribution, percentage, average and standard deviation. The findings were found that trainers of the high ranking educational administrators curriculum, used teaching methods according to the andragogy theory of Malcolm Knowles at the high level of performance (x̅= 3.84). In addition, teaching methods were congruence to the andragogy theory of Malcolm Knowles, especially in the aspect of Self -Concept, Experience, Readiness to learn and Orientation to learning at the high level (x̅= 3.84)-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการศึกษาผู้ใหญ่-
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียน-
dc.subjectการฝึกอบรม-
dc.subjectโนลส์, มัลคัม-
dc.subjectสถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา-
dc.titleการวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างทฤษฎีแอนดราโกจี ของ มัลคัม โนลส์ กับวิธีการสอนในหลักสูตรผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูงของสถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา-
dc.title.alternativeAn analysis of the congruence between Andragogy theory of Malcolm Knowles and teaching methods in high ranking educational administrators curriculum of the Institute for Development of Educational Administrators-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Orathai_sa_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ909.98 kBAdobe PDFView/Open
Orathai_sa_ch1_p.pdfบทที่ 1795.39 kBAdobe PDFView/Open
Orathai_sa_ch2_p.pdfบทที่ 21.85 MBAdobe PDFView/Open
Orathai_sa_ch3_p.pdfบทที่ 3733.09 kBAdobe PDFView/Open
Orathai_sa_ch4_p.pdfบทที่ 41.68 MBAdobe PDFView/Open
Orathai_sa_ch5_p.pdfบทที่ 51.14 MBAdobe PDFView/Open
Orathai_sa_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.