Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65557
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์-
dc.contributor.authorนิจจัง ปิงใจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-27T14:51:00Z-
dc.date.available2020-04-27T14:51:00Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741716354-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65557-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractงานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อหาแนวทางการออกแบบเรขศิลป์ในรายการข่าวโทรทัศน์และเพื่อหาองค์ประกอบที่เหมาะสม วิธีการวิจัยประกอบไปด้วยการหาข้อมูลจากข่าวโทรทัศน์ ช่วงต่าง ๆ ของแต่ละช่อง ทั้งประเทศไทยและสถานีต่างประเทศ และแหล่งข้อมูลประเภทเอกสาร เมื่อได้ข้อมูลทั้งหมดแล้ว จึงนำมาวิเคราะห์ และสรุปเพื่อนำมาสร้างเครื่องมือจากนั้นจึงจัดให้ผู้เชี่ยวชาญคัดเลือก เพื่อหารายการข่าวจากสถานีโทรทัศน์ที่มีการใช้งานออกแบบเรขศิลป์ที่มีความสมบูรณ์ จากนั้นจึงนำหลักเกณฑ์ที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบเรขศิลป์จากสถานีโทรทัศน์ไทยและต่างประเทศ และสรุปผลเพื่อจัดทำแบบสอบถาม โดยการจัดทำแบบสอบถาม เพื่อถามประชาชนทั่วไป และนักออกแบบ ผลการวิจัย พบว่าเรขศิลป์รายการข่าวโทรทัศน์มีองค์ประกอบดังนี้ 1.เรขศิลป์ประเภท ทับอยู่ด้านบน (Super) และแบบกรอบภาพเล็ก (Box) ตำแหน่งของสัญลักษณ์ของสถานีคือ มุมล่างซ้ายมือ ตำแหน่งของกรอบภาพเล็ก (Box) คือมุมซ้ายเหนือไหล่ผู้ประกาศ 2. เรขศิลป์ประเภทฉากหลัง เป็นฉากหลังที่จัดทำขึ้นเองในห้องส่ง โดยใช้แผนที่โลกเป็นภาพประกอบ 3. เรขศิลป์รายการ ข่าวพยากรณ์อากาศ เป็นเรขศิลป์แบบเต็มจอ มีการใช้ภาพธรรมชาติ ภาพแผนที่ และตัวหนังสือรายงานอุณหภูมิ 4. เรขศิลป์ภาพเคลื่อนไหวประเภทไตเติ้ลหลักของสถานี มีองค์ประกอบได้แก่ ลูกโลกทรงกลม สัญลักษณ์ของสถานี และตัวหนังสือ ใช้สีโทนเย็น 5. เรขศิลป์ภาพเคลื่อนไหวประเภทไตเติ้ลรายการข่าวกีฬาของสถานี มีองค์ประกอบคือ ภาพนักกีฬา ตัวหนังสือ ใช้สีโทนเย็น 6.เรขศิลป์ภาพเคลื่อนไหวประเภทไตเติ้ลรายการข่าวพระราชสำนักของสถานีใช้ภาพพระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระราชวงศ์ 7. เรขศิลป์ภาพเคลื่อนไหวประเภทไตเติ้ลรายการข่าวบันเทิงของสถานีใช้องค์ประกอบคือ ภาพโทรทัศน์และตัวหนังสือ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this resarch is to fine the guide line for the use of T.V. Graphic and appropriate elements in the television News program. Research methodology involved data collection 1) from the various time of News programme both thesis and international News agencies chanels and 2) from the selected ducuments. Both colected datas were anlyzed and summunized by the object. Then. the main principle from analysed data from this New program and international News programmes were compared. The result of the comparison was modified and used as the instrusment for the study. 200 genaral public and designers were used as the samples in the study. The result of this study indictes as follows 1) Superimpostion and Box placement ; Logo of News station should always place on the low right Conner, Box should always place on the right hand side above the reporter 2) T.V. Graphic for background should compose of the world map.3) T.V. Graphic for weather News report should use fullscreen graphic and illustrate natural pictures and also report temperature in numerical alphabet. 4) Motion Graphic for the main title of the station should compose of the earth in sphere shape, Logo of the station and alphabet must be in cool color tone. 5) Motion Graphic for sport News title always use picture of sportsmen and typography in cool color tone. 6) Motion Graphic for Royal News title always use picture of King and member of Royal family. 7) Motion Graphic of entertainment News title always use of television’s picture and typography.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectข่าวโทรทัศน์en_US
dc.subjectการออกแบบกราฟิกen_US
dc.subjectการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectTelevision broadcasting of newsen_US
dc.subjectGraphic designen_US
dc.subjectComputer animationen_US
dc.titleการออกแบบเรขศิลป์ในรายการข่าวโทรทัศน์en_US
dc.title.alternativeGraphics design in television news programen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuppakorn.D@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nitjung_pi_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ925.28 kBAdobe PDFView/Open
Nitjung_pi_ch1_p.pdfบทที่ 1684.71 kBAdobe PDFView/Open
Nitjung_pi_ch2_p.pdfบทที่ 21.31 MBAdobe PDFView/Open
Nitjung_pi_ch3_P.pdfบทที่ 3845.63 kBAdobe PDFView/Open
Nitjung_pi_ch4_p.pdfบทที่ 44.07 MBAdobe PDFView/Open
Nitjung_pi_ch5_p.pdfบทที่ 5767.53 kBAdobe PDFView/Open
Nitjung_pi_ch6_p.pdfบทที่ 61.58 MBAdobe PDFView/Open
Nitjung_pi_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก930.58 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.