Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67132
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมร วาณิชวิวัฒน์-
dc.contributor.authorกุลทราภรณ์ สุพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-07-20T06:58:51Z-
dc.date.available2020-07-20T06:58:51Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67132-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา ลักษณะของผู้ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมของการลักทรัพย์ในเคหสถาน สภาพแวดล้อมของผู้ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมของการลักทรัพย์ในเคหสถาน และแนวทางการป้องกันการตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมของการลักทรัพย์ในเคหสถาน โดยใช้วิธีการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และการสัมภาษณ์เชิงลึกอย่างไม่เป็นทางการ การสังเกต ผู้ที่ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมการลักทรัพย์ในเคหสถานจำนวน 8 กรณีศึกษา และสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ตำรวจจำนวน 2 ท่าน ภาควิชา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ลายมือชื่อนิสิต สาขาวิชา สังคมวิทยา ลายมือชื่อ อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ปีการศึกษา 2555 ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะของผู้ที่ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมการลักทรัพย์ในเคหสถานมีแบบแผนในการดำเนินชีวิตในรูปแบบความเสี่ยงแตกต่างกัน มีกิจวัตรประจำวันในการดำเนินชีวิตที่ประจวบเหมาะที่จะตกเป็นเหยื่อที่แตกต่างกัน และมีโอกาสที่จะตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมที่แตกต่างกัน ส่วนลักษณะสภาพแวดล้อมของผู้ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมมีลักษณะเป็นเคหสถานที่แวดล้อมด้วยที่อยู่อาศัยและเส้นทางการสัญจรหลายเส้นทาง ในส่วนของแนวทางการป้องกันการลักทรัพย์ในเคหสถานของผู้ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมที่ทำโดยทันที คือ การเปิดและปิดทางเข้า-ออกของเคหสถานอย่างมีสติรอบคอบและไม่วางทรัพย์สินมีค่าให้มองเห็นได้ง่ายเพื่อลดช่องว่างในการเกิดตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม ในส่วนการป้องกันอาชญากรรมจากสภาพแวดล้อมนั้น จากการศึกษาพบว่า มีผู้ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมเพียงบางส่วนที่ใช้แนวทางดังกล่าวเนื่องจากลักษณะทางกายภาพของเคหสถานและงบประมาณที่จำกัดen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research are to study the particular types, environmental characteristics and prevention of burglary victimization. This study is a documentary and qualitative research, which used in-depth interview techniques in collection data from eight case studies of burglary victimization living in the area of responsibility of Chokchai police station and two investigative polices of Chokchai police station. The results showed that the different types of burglary victimization can be explained by the life-style theory, the routines activity theory and the opportunity theory. The environmental characteristic associated with burglary victimization is the residence surrounded by several other residences and multi-path routings. The immediate protection measures for burglary victimization are urging householders to keeping doors and windows locked consciously as well as keeping valuables that can easily be seen from outside. The study finds that some of crime victims used the immediate protection measures above because of the physical characteristics of the residence and the limited budget.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสถานีตำรวจนครบาลโชคชัยen_US
dc.subjectเหยื่ออาชญากรรม -- ไทยen_US
dc.subjectที่อยู่อาศัย -- มาตรการความปลอดภัยen_US
dc.subjectผู้เสียหายen_US
dc.subjectVictims of crimes -- Thailanden_US
dc.subjectLarcenyen_US
dc.subjectDwellings Housing -- Security measuresen_US
dc.subjectVictimsen_US
dc.titleการตกเป็นเหยื่อของอาชญากรรมของการลักทรัพย์ในเคหสถาน : ศึกษากรณีเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสถานีตำรวจนครบาลโชคชัย เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeBurglary victimization within the Precinct of Chockchai Police Station, Wang Thonglang district, Bangkok Metropolitanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAmorn.W@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kulthrabhorn_su_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ867.07 kBAdobe PDFView/Open
Kulthrabhorn_su_ch1_p.pdfบทที่ 1935.95 kBAdobe PDFView/Open
Kulthrabhorn_su_ch2_p.pdfบทที่ 22.95 MBAdobe PDFView/Open
Kulthrabhorn_su_ch3_p.pdfบทที่ 3784.72 kBAdobe PDFView/Open
Kulthrabhorn_su_ch4_p.pdfบทที่ 41.69 MBAdobe PDFView/Open
Kulthrabhorn_su_ch5_p.pdfบทที่ 51.29 MBAdobe PDFView/Open
Kulthrabhorn_su_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก837.86 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.