Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69138
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคิริชัย ศิริกายะ-
dc.contributor.authorสาธิดา เตชะภัทรพร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-05T08:15:55Z-
dc.date.available2020-11-05T08:15:55Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9746396323-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69138-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การแต่งหน้าในสื่อโทรทัศน์ว่า เป็นผลจากการควบคุมทางสังคมและอิสระทางความคิดสร้างสรรค์ และเพื่อเข้าใจวิธีการสร้างบุคลิกภาพให้นักแสดงและผู้นำเสนอรายการโทรทัศน์ด้วยการแต่งหน้า จากการศึกษาพบว่า การแต่งหน้าในสื่อโทรทัศน์ถูกควบคุมจากทางสังคมสองลักษณะ คือ ลักษณะที่หนึ่ง ถูกการควบคุมจากระบบการทำงานของสื่อโทรทัศน์ และ ลักษณะที่สอง คือ ถูกควบคุมจากบรรทัดฐานทางสังคม ซึ่งทั้งสองลักษณะนี้ส่งผลให้ช่างแต่งหน้าสามารถใช้ความคิดสร้างสรรค์ทางด้านการแต่งหน้าได้ในขอบเขตที่ถูกจำกัดไว้มากกว่าที่จะสามารถทำตามอำเภอใจ จากการใช้แนวความคิดการเกิดภาพนิมิตร สามลักษณะ คือ ลักษณะที่หนึ่งคือ การลอกเลียนแบบ ลักษณะที่สองคือ การผลิตซ้ำ และลักษณะที่สามคือ การเกิดภาพนิมิตรที่ไม่อ้างอิงกับความเป็นจริงพื้นฐาน พบว่าสามารถนำมาใช้เป็นเกณฑ์ในการวิเคราะห์ลักษณะการแต่งหน้าในแต่ละประเภทรายการทางโทรทัศน์ ที่ช่วยส่งผลให้เกิดความเข้าใจลักษณะการใช้รหัสการแต่งหน้าเพื่อถ่ายทอดความหมายที่แตกต่างกันได้ชัดเจนขึ้น ซึ่งเป็นบทบาทของการแต่งหน้าในฐานะที่เป็นส่วนขยาความรู้สึกทางด้านจิตใจในสื่อวิทยุโทรทัศน์-
dc.description.abstractalternativeThis qualitative research aimed to study how social control and convergent selectivity affect make up in television programme production and also to understand whether make ups improve TV actors’ and presenters’ personalities. This study revealed that make up artists were constrained by two important factors namely television production process and social norms. For convergent selectivity , make up artists could have all freedom to creat their artistie skills in the predefined boundary of the television production process. It was also found that three simulacrum concepts ; imitation , reproduction and pure simulation ; could be employed to analyse the make ups for television programme production. This analysis helps to gain insights into differences of make up codes. These codes were the key roles of make up as the extention of mind in television.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแต่งหน้าen_US
dc.subjectสัญศาสตร์en_US
dc.subjectการควบคุมทางสังคมen_US
dc.titleบทบาทของการแต่งหน้าในฐานะเป็นส่วนขยายความรู้สึกทางด้านจิตใจในสื่อวิทยุโทรทัศน์en_US
dc.title.alternativeThe role of make up as the extention of mind in televisionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSirichai.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Satida_te_front_p.pdf950.24 kBAdobe PDFView/Open
Satida_te_ch1_p.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Satida_te_ch2_p.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open
Satida_te_ch3_p.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Satida_te_ch4_p.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open
Satida_te_ch5_p.pdf6.01 MBAdobe PDFView/Open
Satida_te_ch6_p.pdf1.79 MBAdobe PDFView/Open
Satida_te_ch7_p.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Satida_te_back_p.pdf666.26 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.