Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69352
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย ทยานยง-
dc.contributor.authorจิตรา วัฒนรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-11T08:44:04Z-
dc.date.available2020-11-11T08:44:04Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.issn9746388037-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69352-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ เพื่อเสนอแนวทางปฏิบัติในการพัฒนากระบวนการผลิตซอฟต์แวร์และออกแบบการพัฒนาองค์กรผลิตซอฟต์แวร์ ให้เข้าสู่ระบบมาตรฐานซีเอ็มเอ็ม หรือ เคปปะบิลิตี้ แมตชัวลิติ โมเดล ซึ่งเป็นแบบจำลองที่ใช้แบ่งระดับการเติบโตขององค์กรผลิตซอฟต์แวร์ ขั้นตอนการออกแบบประกอบด้วย การออกแบบแบบทดสอบระดับการเจริญเติบโตขององค์กรซอฟต์แวร์ ซึ่งเป็นแบบทดสอบตามรูปแบบของซีเอ็มเอ็ม นำมาดำเนินการออกแบบเพิ่มเติมในส่วนรายละเอียดของคำถามแต่ละระดับ เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งานมากขึ้น แล้วจึงดำเนินการออกแบบการพิจารณาปรับปรุงองค์กรซอฟต์แวร์เข้าสู่ระบบซีเอ็มเอ็ม รวมทั้งแสดงรายละเอียดวิธีการปฏิบัติหลักและข้อควรคำนึงในกรนำมาใช้กับสังคมไทย การวิจัยนี้จะทำให้องค์กรผลิตซอฟต์แวร์ทราบว่า ตนเองอยู่ในระดับใดของซีเอ็มเอ็มและบอกถึงแนวทางในการพัฒนาองค์กรให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้น เพื่อที่จะได้ปรับปรุงกระบวนการพัฒนาขององค์กรซอฟต์แวร์ นอกจากนี้สามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกบริษัทซอฟต์แวร์ ที่จะประมูลงานอีกด้วย-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to present how to develop software organizations into the CMM (Capability Maturity Model) system. The CMM is a model for measuring maturity levels of software organizations. The design procedure consists of a design of maturity questionnaire. The questionnaire is designed based on the CMM but some details are added for easily used. Furthermore, the research provided how software organizations adapt themselves into the CMM by providing key practices and how to localize the organizations into Thai culture. The result of this research will be used to assess levels of the organizations and to provide guidelines how to improve to higher levels in order to improve their development process. Moreover, the assessment will be used for evaluating subcontractors.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแบบจำลองวุฒิภาวะความสามารถบูรณาการ (ซอฟต์แวร์)en_US
dc.subjectวิศวกรรมซอฟต์แวร์en_US
dc.subjectซอฟต์แวร์ -- การพัฒนาen_US
dc.subjectCapability maturity model (Computer software)en_US
dc.subjectSoftware engineeringen_US
dc.subjectComputer software -- Developmenten_US
dc.titleการออกแบบการพัฒนาองค์กรซอฟต์แวร์เข้าสู่ระบบซีเอ็มเอ็มen_US
dc.title.alternativeA design of software organization development into the CMM systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chittra_wa_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ1.12 MBAdobe PDFView/Open
Chittra_wa_ch1.pdfบทที่ 1131.79 kBAdobe PDFView/Open
Chittra_wa_ch2.pdfบทที่ 22.19 MBAdobe PDFView/Open
Chittra_wa_ch3.pdfบทที่ 36.43 MBAdobe PDFView/Open
Chittra_wa_ch4.pdfบทที่ 41.71 MBAdobe PDFView/Open
Chittra_wa_ch5.pdfบทที่ 598.54 kBAdobe PDFView/Open
Chittra_wa_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.