Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ ประพิณมงคลการ-
dc.contributor.authorนริศ รังษีนพมาศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-01-21T09:33:54Z-
dc.date.available2021-01-21T09:33:54Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746314017-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71889-
dc.descriptionวิทยานินธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538-
dc.description.abstractในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นับเป็นความก้าวหน้าอีกขั้นหนึ่งในการพัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ด้วยการเข้ารหัสลับตามมาตรฐาน DES (Data Encryption Standard) ที่มีโหมดในการเข้ารหัสทั้ง 4 โหมด คือ ECB (Electronic Codebook), CBC (Cipher Block Chaining), CFB (Cipher Feedback) และ OFB (Output Feedback) ในคาร์ดเดียวกัน ซึ่งแต่ละโหมดจะมีคุณสมบัติที่ดีเหมาะสำหรับชนิดข้อมูลที่แตกต่างกัน และยังได้นำเสนอวิธีรับรองข้อความที่ต้องมีการลงทะเบียนไฟล์ (File Registration) ก่อน เพื่อป้องกันข้อมูลถูกแก้ไขในขณะที่ถูกเก็บอยู่ในที่ที่ไม่มีการควบคุมการเข้าถึง โดยวิธีนี้จะสร้างรหัสรับรองข้อความ (Authentication Code) จากไซเฟอร์เท็กซ์แทนการสร้างจากเพลนเท็กซ์ ทำให้มีความปลอดภัยมากขึ้น อย่างไรก็ตามวิธีการที่นำเสนอนี้จะใช้เวลาในการรับรองข้อความสูงขึ้น คาร์ดดังกล่าว จะใช้ร่วมกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ โดยผู้วิจัยได้พัฒนาโปรแกรมควบคุมการทำงานและโปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับแสดงเวลาที่ใช้ในการเข้ารหัสโหมดต่าง ๆ และสามารถดูข้อมูลเปรียบเทียบก่อนและหลังจากเข้ารหัส นอกจากนี้ยังสามารถพิมพ์ข้อมูลซึ่งประกอบด้วยอักขระพิเศษออกทางเครื่องพิมพ์เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งาน-
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents another significant development of the data security system that uses a Data Encryption Standard (DES) algorithm. There are 4 DES modes of operations that are appropriate for different application of work. The operation modes are Electronic Codebook (ECB), Cipher Block Chaining (CBC), cipher Feedback (CFB), and Output Feedback (OFB) and all of them are incorporated in a single computer interface card. In addition, it presents an authentication technique which the file has to register (File Registration) prior to authenticate and the authentication code (AC)is generated from a ciphertext instead of plaintext. This technique, in term of security, improves the system performance but however it takes more time. All operations are controlled by a software written in a menu driven style with many utilities to support the user to do the work in an easy way.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการเข้ารหัสลับข้อมูล-
dc.subjectความปลอดภัยของข้อมูล-
dc.titleการพัฒนาออเทนทิเคเตอร์และเอนคริปเตอร์ เพื่อรักษาความปลอดภัยของข้อมูล-
dc.title.alternativeDevelopment of an authenticator and encryptor for data security-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Naris_ra_front_p.pdf974.04 kBAdobe PDFView/Open
Naris_ra_ch1_p.pdf735.67 kBAdobe PDFView/Open
Naris_ra_ch2_p.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Naris_ra_ch3_p.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open
Naris_ra_ch4_p.pdf956.69 kBAdobe PDFView/Open
Naris_ra_ch5_p.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open
Naris_ra_ch6_p.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open
Naris_ra_ch7_p.pdf721.16 kBAdobe PDFView/Open
Naris_ra_back_p.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.