Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72262
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์-
dc.contributor.advisorบรรเจิด สิงคะเนติ-
dc.contributor.authorเอกอิศร์ ทองเนื้อดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-02-11T12:26:02Z-
dc.date.available2021-02-11T12:26:02Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741309694-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72262-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ถือเป็นพระราชบัญญัติที่สำคัญฉบับหนึ่งที่คุ้มครองและรับรองสิทธิของประชาชนในการตรวจสอบการดำเนินกิจการของหน่วยงาน ของรัฐภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยกฎหมายฉบับนี้มีหลักการในการรองรับถึง “สิทธิได้รู” ของประชาชน ด้วยกฎหมายฉบับนี้จะสามารถทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือดูแลของหน่วยงานของรัฐ อันส่งผลให้เกิดการตรวจสอบการทำงานของหน่วยงานของรัฐในที่สุด ซึ่งหลักการดังกล่าวก็ได้สอดคล้องกับสิทธิได้รู้ถึงข้อมูลข่าว สารสาธารณะในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 58 ด้วย อย่างไรก็ดี ภายหลังเมื่อได้มีการบังคับใช้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ไปแล้วก็ได้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติขึ้น เนื่องจากข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานของรัฐบาง ประเภทนั้นมีข้อมูลส่วนบุคคล หรือข้อมูลที่มีประโยชน์สาธารณะรวมอยู่ด้วย และข้อมูลข่าวสารเหล่านี้บางประเภทก็ยากที่จะกำหนดสถานะให้ชัดเจนได้ เมื่อไม่สามารถกำหนดสถานะของ เอกสารให้ชัดเจนได้การกำหนดขอบเขตในการเปิดเผยให้ชัดเจนย่อมเป็นไปไม'ได้เช่นกัน โดยมีกรณีของการขอให้เปิดเผยกระดาษคำตอบและบัญชีคะแนนสอบเกิดขึ้นเป็นกรณีศึกษาที่สำคัญ ด้วยเหตุนี้ผู้เขียนจึงได้จัดทำวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ขึ้น โดยมุ่งที่จะศึกษาสถานะของข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือดูแลของหน่วยงานของรัฐ เพื่อที่จะได้สามารถกำหนดขอบเขตใน การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารให้ชัดเจน โดยใช้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกสารเกี่ยวกับการสอบซึ่งมีกรณีศึกษาเกิดขึ้นแล้วในการวิเคราะห์และวิจัย และหาแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อให้สามารถคุ้มครองประโยชน์ของทุกฝ่ายได้ และไม่ทำให้กระทบกระเทือนต่อระบบการตรวจสอบการดำเนินงานของหน่วยงานรัฐตามระบอบประชาธิปไตย สมตามเจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้เองen_US
dc.description.abstractalternative“The Official Information Act B.E. 2540” is the one of the important acts which protect and serve the “Right” of people to check the activities of the state institutions under the democracy governance . The purpose of this act is to serve the “Right to Know” of people. With this Act people can access all of the informations in controlling or monitoring of state institutions, that’s resulted for the checking the activities of the state institutions . This concept is applied with the “Right to Know the public Information” in section 58 of The Constitiution of Kingdom of Thailand . However, after this Act is enforced . There are many problems. Because of some state institutions’ informations are possibly consist of the personal information or public interest information and some of them are hard to identifiy . If these informations are not clear to identify, we can not scope how much to open for these informations . These problems are shown in the case of “the request to access answering papers and list of their score ” Because of this reason, I write this thesis . This thesis intends to study the status of state institutions’ informations for clearing the scope of access by use the examination documents (they have real cases) to research and find the way to solve the problem for protect all parties interest and contain the checking of state institutions’ activities under democracy governance . That’s for the purpose of this Act.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectข้อมูลข่าวสารของราชการ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectสิทธิส่วนบุคคลen_US
dc.subjectพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540en_US
dc.titleการเปิดเผยเอกสารเกี่ยวกับการสอบของรัฐ ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540en_US
dc.title.alternativeThe disclosure of officials' examination documents under the Official Information Act B.E. 2540en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKriengkrai.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ek-it_th_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ858.98 kBAdobe PDFView/Open
Ek-it_th_ch1_p.pdfบทที่ 1723.7 kBAdobe PDFView/Open
Ek-it_th_ch2_p.pdfบทที่ 21.6 MBAdobe PDFView/Open
Ek-it_th_ch3_p.pdfบทที่ 32.54 MBAdobe PDFView/Open
Ek-it_th_ch4_p.pdfบทที่ 41.88 MBAdobe PDFView/Open
Ek-it_th_ch5_p.pdfบทที่ 5786.79 kBAdobe PDFView/Open
Ek-it_th_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก708.63 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.