Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72758
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChitr Sitthi-amorn-
dc.contributor.advisorPyatat Tatsanavivat-
dc.contributor.authorKanchana Chansung-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2021-03-10T07:42:12Z-
dc.date.available2021-03-10T07:42:12Z-
dc.date.issued1994-
dc.identifier.issn9745844195-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72758-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1994en_US
dc.description.abstractThis research studied the prevalence of iron deficiencyanemia in reproductive age group non pregnant women who livedunderdeveloped villages of Amphoe Ban Fang, Khon Khaen Province,using hematocrit level and serum ferratin as the measurementmethods. The subjects were considered as iron deficiency anemiapatients when hematocrit less than 36% and serum ferratin lessthan 15 ng/ml. During November 1993 to January 1994, the women age between15 and 45 years who were healthy, not pregnant and lived in 12underdeveloped villages of Amphoe Ban Fang were interviewed abouthistory of menstruation, number of offsprings, history ofgastro-intestinal breeding, method of birth control, migration,type of diet and history of aspirin or NSAID used. Hematocrit and serum ferratin were measured among those whopermit blood extraction. From 640 selected subjects, 629 cases permit bloodextraction (98.3%). The prevalence of iron deficiency anemia is4.8%, while prevalence of anemia of any causation is 23.1%. About10.2% of all subjects have increased iron storage or ironoverload. The history of taking aspirin or NSAID frequently showedassociation with iron deficiency anemia with statiscalsignificance (P=0.0015). The other factors showed no significanceassociation. The result of this study showed that, although theprevalence of anemia was high among this group of population, thecommon causation was not iron deficiency as we expected before.Other cause of anemia such as thalassemia and hemoglobinopathiesshould be identified for further study.en_US
dc.description.abstractalternativeรายงานนี้เป็นการศึกษาความชุกของภาวะโลหิตจางจาการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ในเขตหมู่บ้านยากจนของอำเภอฝาง จังหวัดขอนแก่น การศึกษากระทำในผู้หญิงอายุระหว่าง 15 ถึง 45 ปี ที่มีสุขภาพปกติไม่มีโรคประจำตัวไม่ได้ตั้งครรภ์ และอาศัยอยู่ในเขตหมู่บ้านยากจนของอำเภอฝาง ดำเนินการในระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2536 ถึงเดือนมกราคมพ.ศ.2537 จากจำนวนตัวอย่างที่ได้รับการสุ่มเลือก 640 ราย มีผู้ยินยอมให้ทำการเจาะเลือดตรวจ 629 รายคิดเป็นร้อยละ 98.3 กลุ่มตัวอย่างได้รับการตรวจหาค่า hematocrite โดยวิธี microcentifuge และค่าserum ferritin โดยวิธี ELISA ใช้เกณฑ์การตัดสินว่ามีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเมื่อมีค่า hematocrit ต่ำกว่า 36% และ serumferritin ต่ำกว่า 15 ng/ml: นอกจากนั้นยังได้ทำการสัมภาษณ์ประวัติเกี่ยวกับประจำเดือน เลือดออกในทางเดินอาหาร วิธีการคุมกำเนิด จำนวนบุตร การใช้ยาแก้ปวดประจำ การย้ายถิ่น และตรวจอุจจาระหาพยาธิปากขอ เพื่อหาปัจจัยที่อาจมีส่วนเกี่ยวข้องกับภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กของผู้ป่วย ผลการศึกษาพบว่าความชุกของภาวะโลหิตจางในกลุ่มตัวอย่างเท่ากับร้อยละ 23.1 แต่เพียงร้อยละ 4.8 ของตัวอย่างทั้งหมดเท่านั้น ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก นอกจากนั้นยังพบว่าร้อยละ 10.2 ของกลุ่มตัวอย่างมีภาวะธาตุเหล็กเกิน ผลของการศึกษานี้แสดงถึงแม้ภาวะโลหิตจางจะยังคงเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในประชากรกลุ่มนี้ แต่สาเหตุส่วนใหญ่มิได้เกิดจากการขาดธาตุเหล็กดังที่เชื่อกันอยู่เดิม เนื่องจากความชุกของพันธุกรรมโรคธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติในหมู่ประชากรไทย โดยเฉพาะชาวอิสานมีสูง จึงอาจเป็นสาเหตุหลักของภาวะโลหิตจางในประชากรกลุ่มนี้ อย่างไรก็ตามยังไม่ได้มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันสมมติฐานนี้ การสำรวจความคิดของโรคธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติน่าจะได้มีการทำต่อไปเมื่อมีโอกาส ผู้ป่วยทุกรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะโลหิตจางควรได้รับการตรวจเพิ่มเติมเพื่อหาสาเหตุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะโลหิตจากจากการขาดธาตุเหล็กในกลุ่มตัวอย่างนี้พบว่ามีเพียงประวัติการใช้ยาแก้ปวดเป็นประจำที่เพิ่มอัตราการเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีค่าP= 0.0015 อย่างไรก็ดีเนื่องจากการศึกษานี้เป็นแบบ descriptivecross-sectional study ซึ่งไม่เหมาะกับการหาปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรคต่างๆ ผลที่ได้จึงมีระดับความน่าเชื่อถือไม่มากนัก ควรจะมีการศึกษาโดยใช้วิธีการที่เหมาะสมกว่านี้ต่อไปen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectAnemiaen_US
dc.subjectWomenen_US
dc.subjectBan Fang (Khon Kaen)en_US
dc.subjectเลือดจางen_US
dc.subjectสตรีen_US
dc.subjectบ้านฝาง (ขอนแก่น)en_US
dc.subjectAnemia, Iron-Deficiencyen_US
dc.subjectAnemiaen_US
dc.titlePrevalence of iron deficiency anemia in reproductive age group non pregnant women in underdeveloped area of Amphoe Ban Fang, Khon Khaen Provinceen_US
dc.title.alternativeการสำรวจภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ในอำเภอบ้านฝางจังหวัดขอนแก่นen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineHealth Developmenten_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanchana_ch_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ915.09 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1931.93 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ch_ch2_p.pdfบทที่ 2803.21 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ch_ch3_p.pdfบทที่ 3662.25 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ch_ch4_p.pdfบทที่ 4662.16 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ch_ch5_p.pdfบทที่ 51.11 MBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ch_ch6_p.pdfบทที่ 6951.71 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ch_ch7_p.pdfบทที่ 7764.09 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ch_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก818.41 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.