Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72795
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทิกา ทวิชาชาติ-
dc.contributor.advisorพวงสร้อย วรกุล-
dc.contributor.authorกุลวดี อักษรทับ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2021-03-12T02:51:59Z-
dc.date.available2021-03-12T02:51:59Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740312306-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72795-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาเครื่องมือและมาตรวัดความรู้สึกแสวงหาสิ่งตื่นเต้นเร้าใจฉบับภาษาไทย และตรวจสอบคุณสมบัติทางการวัดคือความเที่ยง และความตรงของมาตรวัดในกลุ่มเด็กนักเรียนอายุ 12 - 18 ปี ในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อสร้างเกณฑ์มาตรฐานของมาตรวัดความรู้สึกแสวงหาสิ่งตื่นเต้นเร้าใจในกลุ่มเด็กนักเรียนที่มีอายุ 1 2 -1 8 ปี ในกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อหาปัจจัยระหว่างตัวแปรของอายุ, เพศ และบุคลิกภาพ ที่มีผลต่อมาตรวัดความรู้สึกแสวงหาสิ่งตื่นเต้นเร้าใจ ผลการวิจัยพบว่าค่าความเที่ยงที่ได้จากความคงที่ภายในของนักเรียนทั้งหมดเท่ากับ .869 และค่าความเที่ยงที่ได้จากการทดสอบซ้ำมีค่าเท่ากับ .785 ความตรงในเนื้อหาจากการวิเคราะห์องค์ประกอบพบว่ามี 4 องค์ประกอบที่ใช้ร่วมกันในการอธิบายความรู้สึกแสวงหาสิ่งตื่นเต้นเร้าใจได้แก่ ด้านความรู้สึกชอบในสิ่งที่ตื่นเต้น เร้าใจ และเสี่ยงภัย ด้านประสบการณ์ในการแสวงหา หรือสำรวจสิ่งแปลกใหม่ ด้านลักษณะที่ไม่มีการยับยั้งชั่งใจ หรือข่มใจ และด้านความรู้สึกไวต่อความน่าเบื่อหน่าย นอกจากนี้ได้สร้างเกณฑ์มาตรฐานโดยใช้คะแนนมาตรฐาน ที และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อมาตรวัดความรู้สึกแสวงหาสิ่งตื่นเต้นเร้าใจ พบว่าปัจจัยด้านเพศนั้นค่าเฉลี่ยของคะแนนในนักเรียนชายสูงกว่านักเรียนหญิงทุกด้านยกเว้นด้านความรู้สึกชอบในสิ่งที่ตื่นเต้นเร้าใจและเสี่ยงภัย โดยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 สำหรับปัจจัยด้านอายุพบว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนเมื่อจำแนกตามอายุมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และปัจจัยทางด้านบุคลิกภาพนั้นคะแนนความรู้สึก แสวงหาสิ่งตื่นเต้นเร้าใจทั้งด้านรวมและด้านย่อยมีความสัมพันธ์กับบุคลิกภาพแบบแสดงออก และแบบอ่อนไหวทางอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe research is the descriptive study design that aims to 1.) to develop The Sensation Seeking Scale manual in Thai version and to investigate the reliability and validity of Sensation Seeking Scale among the 1 2 - 1 8 years old students in Bangkok Metropolitan. 2.) to establish the Sensation Seeking Scale norms for the students mentioned above, and 3.) to study the relationship between factors of age, sex, personality and sensation seeking. The result has been revealed that the internal consistency reliability coefficients of Sensation Seeking Scale were .869 in students. The test/re-test reliability coefficients for Sensation Seeking Scale was ,785The principle factor analysis study of Sensation Seeking Scale yielded 4 factors that are Thrill and Adventure Scale Experience Seeking Scale Disinhibition Scale and Boredom Susceptibility Scale. The standard norm construction used standard T - score. Male students showed higher scores than female students at statistical significant p<.01, p<.05 in all aspect scales except scale of Thrill and Adventure Seeking. For age differences, the score between groups did differ statistical significantly p<.01. The level of Sensation Seeking related to people who have neuroticism and extraversion personality at the level of statistical significance p<.01en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแสวงหาสิ่งตื่นเต้นเร้าใจen_US
dc.subjectวัยรุ่นen_US
dc.subjectบุคลิกภาพen_US
dc.subjectการวัดทางจิตวิทยาen_US
dc.subjectSensationen_US
dc.subjectSensation seeking scaleen_US
dc.titleการพัฒนาเกณฑ์ปกติของมาตรวัดความรู้สึกแสวงหาสิ่งตื่นเต้นเร้าใจ กับนักเรียนอายุ 12-18 ปี ที่ศึกษาอยู่ในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeThe norm development of sensation seeking scale for 12-18 years school students in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kulvadee_ak_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ798.35 kBAdobe PDFView/Open
Kulvadee_ak_ch1_p.pdfบทที่ 1731.54 kBAdobe PDFView/Open
Kulvadee_ak_ch2_p.pdfบทที่ 21.54 MBAdobe PDFView/Open
Kulvadee_ak_ch3_p.pdfบทที่ 3835.42 kBAdobe PDFView/Open
Kulvadee_ak_ch4_p.pdfบทที่ 41.01 MBAdobe PDFView/Open
Kulvadee_ak_ch5_p.pdfบทที่ 51.06 MBAdobe PDFView/Open
Kulvadee_ak_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.