Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73576
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชนี เชยจรรยา-
dc.contributor.authorสุนิมิต ประทีปเสน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-05-28T01:10:05Z-
dc.date.available2021-05-28T01:10:05Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745797472-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73576-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. พฤติกรรมการเปิดรับสารโฆษณาส่งเสริมสังคมทางโทรทัศน์ และการระลึกและจดจำได้ 2. ภาพพจน์ที่ผู้บริโภคมีต่อหน่วยงาน และสินค้าหรือบริการของหน่วยงานนั้นและพฤติกรรมการบริโภคสินค้าหรือบริการของผู้บริโภค 3. ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับ สารโฆษณาส่งเสริมสังคม กับการระลึกและจดจำได้ของผู้บริโภค 4. ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสาร โฆษณาส่งเสริมสังคมกับภาพพจน์ที่ผู้บริโภคมีต่อหน่วยงานและสินค้าหรือบริการของหน่วยงานนั้น 5. ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสารโฆษณาส่งเสริมสังคมกับพฤติกรรมการบริโภคสินค้าหรือบริการของผู้บริโภค 6. ความสัมพันธ์ระหว่างการระลึกและจดจำได้ของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการบริโภคสินค้า หรือบริการของ ผู้บริโภค การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ผู้บริโภคทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานคร อายุตั้งแต่ 20-60 ปี ประกอบอาชีพ และเปิดรับสารโฆษณาส่งเสริมสังคม จำนวน 272 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหาค่าร้อยละ เพื่ออธิบายลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง สำหรับการทดสอบสมมติฐานใช้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์หาค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบ เพียร์สัน (Pearson's Product Moment Correlation Coefficient) ซึ่งประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่า 1. การเปิดรับสารโฆษณาส่งเสริมสังคมกับการระลึกและจดจำได้ของผู้บริโภค มีความสัมพันธ์ กันในทางบวก 2. การเปิดรับสารโฆษณาส่งเสริมสังคม ไม่มีความสัมพันธ์กับภาพพจน์ที่ผู้บริโภคมีต่อหน่วยงาน และสินค้า หรือบริการของหน่วยงานนั้น 3. การเปิดรับสารโฆษณาส่งเสริมสังคม ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคสินค้า หรือ บริการของผู้บริโภค 4. การระลึกและจดจำได้ของผู้บริโภค ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคสินค้าหรือ บริการของผู้บริโภค-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study 1. The exposure of public service advertising on television behavior and recall and recognition 2. Consumer's image on organizations and products or services of those organizations and consumer behavior 3. The correlation of the exposure of public service advertising and recall and recognition 4. The correlation of the exposure of public service advertising and consumer's image on organizations and products or services of those organizations 5. The correlation of the exposure of public service advertising and consumer behavior 6. The correlation of consumer's recall and recognition and consumer behavior. This study is a survey research. Samples are 272 consumers in Bangkok area who are 20-60 years old, employed and exposed to public service advertising. Questionnaires, administered to all the samples, were used to collect the data for this research. Percentage, Pearson's Product Moment Correlation coefficient were employed to analyze the data. The results are as follows: 1. There was positive correlation between the exposure of public service advertising and recall and recognition.2. There was no correlation between the exposure of public service advertising and consumer's image on organizations and products or services of those organizations. 3. There was no correlation between the exposure of public service advertising and consumer behavior. 4. There was no correlation between consumer's recall and recognition and consumer behavior.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectโฆษณาen_US
dc.subjectConsumer behavioren_US
dc.subjectAdvertisingen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสารโฆษณาส่งเสริมสังคม กับพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.title.alternativeRelation between exposure of public service advertising and consumer behavioren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpatchaneec@hotmail.com-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunimit_pr_front_p.pdf914.6 kBAdobe PDFView/Open
Sunimit_pr_ch1_p.pdf988.41 kBAdobe PDFView/Open
Sunimit_pr_ch2_p.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open
Sunimit_pr_ch3_p.pdf792.91 kBAdobe PDFView/Open
Sunimit_pr_ch4_p.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Sunimit_pr_ch5_p.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
Sunimit_pr_back_p.pdf902.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.