Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73672
Title: ประสิทธิผลของกราฟและตารางในฐานะเครื่องมือที่ใช้ประกอบรายงานข่าวเชิงวิจัยประยุกต์
Other Titles: The effectiveness of graphs and tables as tools in precision journalism
Authors: ณรงค์กร มั่นชาวนา
Advisors: ดวงกมล ชาติประเสริฐ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Duangkamol.C@chula.ac.th
Subjects: การสื่อข่าวและการเขียนข่าว
หนังสือพิมพ์
ข่าว
สถิติ
Reporters and reporting
Newspapers
Statistics
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษาการเปรียบเทียบประสิทธิผล ของกราฟและตารางแต่ละประเภทที่ถูกนำมาใช้ประกอบรายงานข่าวเชิงวิจัยประยุกต์ ตัวแปรอิสระที่ศึกษาในงานวิจัยชิ้นนี้ประกอบด้วยประ เภทของกราฟ, ลักษณะทางสถิติของข้อมูล ความสลับซับช้อนของข้อมูล และความคุ้นเคยทางข้อมูลเชิงสถิติของผู้อ่าน ผลการวิจัยพบว่า ผู้อ่านจะจดจำข้อมูลทางสถิติที่สลับซับซ้อนได้ดีกว่าข้อมูลทางสถิติที่เรียบง่าย อย่างไรก็ตาม ผู้อ่านจะจดจำข้อมูลที่มีกราฟและตารางประกอบได้น้อยกว่าข้อมูลเรียบง่ายที่ไม่มีกราฟ และตารางประกอบ สำหรับตัวแปรที่มีผลต่อการจดจำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติคือ ประเภทของกราฟ และความคุ้นเคยของผู้อ่านที่มีต่อข้อมูลเชิงสถิติ แต่ในทางกลับกันไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเภทกราฟ และความสลับซับช้อนของข้อมูล และระหว่างประเภทของกราฟ และลักษณะทางสถิติของข้อมูล
Other Abstract: This experimental research aims at comparing the effectiveness of various kinds of graphs and tables when used in precision journalism. Variables examined include kinds of graphs, the statistical characteristics of the messages, message complexity and readers’ familiarity with statistical information. The results showed that the readers recalled complex statistical data better than simple statistical data. However, the readers were able to recall less information from messages accompanied by graphs and tables than from thier plain text counterparts. Other variables with significant relationships with recall were kind of graphs and readers’ familiarly with statistical information. On the other hand, no interaction effects were found between kind of graphs and message complexity and between kind of graphs and statistical characteristics of the messages.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การหนังสือพิมพ์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73672
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1997.331
ISBN: 9746390988
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1997.331
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Narongkorn_ma_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ883.83 kBAdobe PDFView/Open
Narongkorn_ma_ch1_p.pdfบทที่ 1933.4 kBAdobe PDFView/Open
Narongkorn_ma_ch2_p.pdfบทที่ 22.28 MBAdobe PDFView/Open
Narongkorn_ma_ch3_p.pdfบทที่ 3769.13 kBAdobe PDFView/Open
Narongkorn_ma_ch4_p.pdfบทที่ 4985.45 kBAdobe PDFView/Open
Narongkorn_ma_ch5_p.pdfบทที่ 51.12 MBAdobe PDFView/Open
Narongkorn_ma_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก5.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.