Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74670
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีจิตรา บุนนาค-
dc.contributor.authorสุทธิชัย จิตะพันธ์กุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-23T05:58:34Z-
dc.date.available2021-07-23T05:58:34Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745699691-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74670-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en_US
dc.description.abstractเนื่องจากความรู้ในปัจจุบันเชื่อว่าพยาธิกำเนิดของโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลินเกิดจากความผิดปกติของเนื้อเยื่อปลายทางหรือที่เรียกว่าภาระต้านอินสุลินซึ่งเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ กันไป ได้มีรายงานแสดงว่าเมตะบอลิสมของกรดยูริกอาจมีบทบาทต่อพยาธิกำเนิดของโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลินจึงได้ทำการศึกษาชนิด randomized double blind cross over control study โดยใช้ แอลโลพูรินอล 12 อาทิตย์ และยาหลอกอีก 12 อาทิตย์ ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลินจำนวน 53 ราย โดยตรวจหาค่าความทนต่อน้ำตาลกลูโคส, ฮีโมโกลบินเอวันซี, อินสุลิน, กรดยูริก และ ค่าทางชีวเคมีอื่น ๆ ได้แก่ ค่าไขมันในเซรุ่มและครีเอตินีน พบว่าระดับฮีโมโกลบินเอวันซีหลังได้แอลโลพูรินอลสูงกว่าหลังได้ยาหลอกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.003) แต่ไม่พบความแตกต่างของค่าความทนต่อน้ำตาลกลูโคส, อินสุลิน และค่าทางชีวเคมี อื่น ๆ ยกเว้น กรดยูริกในเซรุ่ม (p <0.001). เมื่อแยกกลุ่มผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้ค่า BMI ก็ยังพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของค่าฮีโมโกลบินเอวันซีและกรดยูริก ทั้งในกลุ่มที่มี BMI น้อยกว่า 25 กก. ต่อตารางเมตร (p <0.001, p <0.001 ตามลำดับ) และกลุ่มที่มี BMI มากกว่าหรือเท่ากับ 25 กก. ต่อตารางเมตร (p <0.05, p <0.001 ตามลำดับ) ได้ทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความแตกต่างของฮีโมโกลบินเอวันซีกับความแตกต่างของกรดยูริกหลังได้แอลโลพูรินอลและหลังได้ยาหลอกโดยใช้การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้นตรงและสหสัมพันธ์ พบว่าไม่ปรากฏความสัมพันธ์แบบเส้นตรง (r = 0.15, p = 0.29) สรุปมีความสัมพันธ์ระหว่างเมตะบอลิสมของกลูโคสและกรดยูริกจริงและความสัมพันธ์ดังกล่าวสนับสนุนว่ากรดยูริกมีส่วนร่วมในพยาธิกำเนิดของโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน-
dc.description.abstractalternativeMany investigators indicate that insulin resistance of the peripheral tissues is a primary defect that results in non-insulin dependent diabetes mellitus (NIDDM). It is also generally accepted that multifactorial controls, playing in concert for gene expression trigger this disease category. Previous research reports suggest that uric acid metabolism has the role in pathogenesis of NIDDM. To confirm this hypothesis, we investigated 53 NIDDM patients by employing double blind cross over control study, intervened with allopurinol or placebo. We found the statistical significant difference of the level of hemoglobin Alc (HbA1c) after the allopurinol intervention period of 12 weeks comparing with the placebo period of the same duration (p <0.003). The difference was also found in the subgroup with Body Mass Index (BMI) less than 25 kg / m² (p <0.001) and BMI more than or equal to 25 kg / m2 (p <0.05). No statistical significant differences of fasting plasma glucose, glucose tolerance test, serum insulin, total cholesterol, triglycerides, high density lipoprotein cholesterol, creatinine, prior to and post use of allopurinol were noted except for serum uric acid (p <0.001). No relationship between difference of HbAlc and difference of uric acid, analyzed by linear regression analysis and correlation was demonstrated (r = 0.15, p = 0.29). We conclude that there is definite relationship between glucose and uric acid metabolism. This relationship is most likely participating in the role of pathogenesis of NIDDM.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกลูโคส -- การเผาผลาญen_US
dc.subjectกรดยูริก -- การเผาผลาญen_US
dc.subjectเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลินen_US
dc.subjectโรคเกาต์en_US
dc.subjectGlucose -- Metabolismen_US
dc.subjectUric acid -- Metabolismen_US
dc.subjectNon-insulin-dependent diabetesen_US
dc.subjectGouten_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างเมตะบอลิสมของกลูโคสและกรดยูริก : อิทธิพลของการลดระดับกรดยูริกในเซรุ่ม โดยแอลโลพูรินอลต่อเมตะบอลิสมของกลูโคสen_US
dc.title.alternativeRelationship between glucose and uric acid metabolism : influence of short term allopurinol to glucose tolerance testen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sutthichai_ji_front_p.pdf910.23 kBAdobe PDFView/Open
Sutthichai_ji_ch1_p.pdf785.06 kBAdobe PDFView/Open
Sutthichai_ji_ch2_p.pdf689.45 kBAdobe PDFView/Open
Sutthichai_ji_ch3_p.pdf609.7 kBAdobe PDFView/Open
Sutthichai_ji_ch4_p.pdf871.55 kBAdobe PDFView/Open
Sutthichai_ji_ch5_p.pdf717.26 kBAdobe PDFView/Open
Sutthichai_ji_ch6_p.pdf619.59 kBAdobe PDFView/Open
Sutthichai_ji_back_p.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.