Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77929
Title: ไพโรไลซิสของน้ำมันจากทะลายปาล์มเปล่าเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพเหลวบนแมกนีเซียมออกไซด์และถ่านกัมมันต์
Other Titles: Pyrolysis of oil from oil palm empty fruit bunch to liquid biofuel on magnesium oxide and activated carbon
Authors: ญาดา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
Advisors: ธราพงษ์ วิทิตศานต์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: ปาล์มน้ำมัน
พลังงานชีวมวล
การแยกสลายด้วยความร้อน
Oil palm
Biomass energy
Pyrolysis
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษากระบวนการไพโรไลซิสน้ำมันจากทะลายปาล์มเปล่าในเครื่องปฏิกรณ์ แบบแบตซ์ขนาด 70 มิลลิลิตรโดยใช้แมกนีเซียมออกไซด์และถ่านกัมมันต์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อศึกษาปัจจัย ที่ส่งผลต่อร้อยละการเปลี่ยนแปลงของเชื้อเพลิงชีวภาพเหลวและองค์ประกอบตามคาบจุดเดือน โดยใช้วิธีออก แบบการทดลองแบบแฟกทอเรียลสองระดับในการหาตัวแปรที่มีผลกระทบต่อร้อยละการเปลี่ยนแปลงของเชื้อเพลิงเหลวและองค์ประกอบของน้ำมันและหาภาวะที่เหมาะสมที่ให้ร้อยละการเปลี่ยนแปลงเป็นของเหลว และมีองค์ประกอบในช่วงของน้ำมันดีเซลมากที่สุด ผลการทดลองพบว่าภาวะที่เหมาะสมและได้ร้อยละของเชื้อเพลิงเหลวมากที่สุดที่อุณหภูมิ 430 องศาเซลเซียส เวลา 60 นาที ความดันของไฮโดรเจนเริ่มต้น 5 บาร์ และปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก ให้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นแก๊สร้อยละ 21.73 ของเหลวร้อยละ 66.68 และของแข็งร้อยละ 11.59 ตาม ลำดับ เมื่อนำผลิตภัณฑ์ที่เป็นของเหลวไปวิเคราะห์องค์ประกอบตามคาบจุดเดือนเครื่องแก๊สโครมาโทกราฟี แบบจำลองการกลั่น พบว่ามีปริมาณแนฟทาร้อยละ 22.50 เคโรซีนร้อยละ 17.50 ดีเซลร้อยละ 55.00 และกากน้ำมันร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก
Other Abstract: The research aims to study the pyrolysis of oil from palm oil empty fruit bunch perform in a 70 ml. batch reactor over magnesium oxide and activated carbon as a catalyst. To study the parameters which affect to the liquid yield and product distribution of liquid by using 2k factorial experimental design to investigate the condition which give the highest liquid yield and product distribution like as diesel. The results shown that the optimum condition at the temperature of 430 ℃, time of reaction of 60 minutes, initial hydrogen pressure of 5 bars and using 5 wt of magnesium oxide and activated carbon gave the highest of liquid yield of 66.68 %wt, 1.73 %wt of gas and 11.59 of solid obtained. The product distribution was analyzed by simulation distillation gas chromatograph which found that the production distribution of naphtha, kerosene, diesel and log residue of 22.50 wt%, 17.50 wt%, 55.00 wt% 5.00 wt% respectively.
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77929
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1964
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.1964
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yada_pa_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ1.08 MBAdobe PDFView/Open
Yada_pa_ch1_p.pdfบทที่ 1697.7 kBAdobe PDFView/Open
Yada_pa_ch2_p.pdfบทที่ 22.24 MBAdobe PDFView/Open
Yada_pa_ch3_p.pdfบทที่ 3931.36 kBAdobe PDFView/Open
Yada_pa_ch4_p.pdfบทที่ 42.08 MBAdobe PDFView/Open
Yada_pa_ch5_p.pdfบทที่ 5664.96 kBAdobe PDFView/Open
Yada_pa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.