Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9262
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำลี ทองธิว-
dc.contributor.authorสุชาดา พจนพิมล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-07-17T09:38:20Z-
dc.date.available2009-07-17T09:38:20Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743333339-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9262-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractพัฒนาโปรแกรมการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาเรื่องสารเป็นพิษใกล้ตัว ด้วยวิธีสอนแบบศึกษานอกสถานที่สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสวนหลวง สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 18 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ปานกลาง และต่ำ กลุ่มละ 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเป็นพิษใกล้ตัว และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับ โปรแกรมการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาเรื่องสารเป็นพิษใกล้ตัว ด้วยวิธีสอนแบบศึกษานอกสถานที่ ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนจากแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง สารเป็นพิษใกล้ตัวของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง หลังการเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าเกณฑ์ผ่าน 80% ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านอันตรายของสารเป็นพิษในผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ที่พบในชุมชนสวนหลวง ด้านการจำแนกรายชื่อผลิตภัณฑ์ที่ปราศจากสารเป็นพิษ กับผลิตภัณฑ์ที่มีสารเป็นพิษปนเปื้อน ด้านการปฏิบัติตนในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ที่ปราศจากสารเป็นพิษและด้านการปฏิบัติตน ในการใช้ผลิตภัณฑ์ให้ปลอดภัยจากสารเป็นพิษ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนจากแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง สารเป็นพิษใกล้ตัวของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปานกลาง หลังการเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าเกณฑ์ผ่าน 70% ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านอันตรายของสารเป็นพิษในผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ที่พบในชุมชนสวนหลวง ด้านการจำแนกรายชื่อผลิตภัณฑ์ที่ปราศจากสารเป็นพิษ กับผลิตภัณฑ์ที่มีสารเป็นพิษปนเปื้อน ด้านการปฏิบัติตนในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปราศจากสารเป็นพิษ และด้านการปฏิบัติตนในการใช้ผลิตภัณฑ์ให้ปลอดภัยจากสารเป็นพิษ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนจากแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง สารเป็นพิษใกล้ตัวของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ หลังการเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าเกณฑ์ผ่าน 60% ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านอันตรายของสารเป็นพิษในผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ที่พบในชุมชนสวนหลวง ด้านการจำแนกรายชื่อผลิตภัณฑ์ที่ปราศจากสารเป็นพิษ กับผลิตภัณฑ์ที่มีสารเป็นพิษปนเปื้อน ด้านการปฏิบัติตนในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปราศจากสารเป็นพิษ และด้านการปฏิบัติตนในการใช้ผลิตภัณฑ์ให้ปลอดภัยจากสารเป็นพิษ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 4. ด้านความคิดเห็นเกี่ยวกับโปรแกรมการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาเรื่อง สารเป็นพิษใกล้ตัวด้วยวิธีสอนแบบศึกษานอกสถานที่ พบว่า นักเรียนที่เข้าร่วมโปรแกรมส่วนใหญ่มีความคิดว่า โปรแกรมการสอนนี้อยู่ในระดับเหมาะสมมาก โดยเฉพาะในด้านวิดีทัศน์ประกอบการสอนทำให้เข้าใจในเรื่องที่เรียนมาก และนักเรียนได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมโปรแกรมนี้มากเช่นกัน ความคิดเห็นด้านเนื้อหาและความคิดเห็นในเรื่องการพาออกศึกษานอกสถานที่จำนวน 15 ครั้ง อยู่ในระดับปานกลางen
dc.description.abstractalternativeTo develop an environmental education teaching program on hazardous substances using field trip teaching method for prathom suksa five students in Suanluang school under the jurisdiction of the Bangkok Metropolitan Administration with 18 students divided into 3 groups. Students in each group were students in high, middle and low levels of learning achievements. The instruments of this research were achievement test and questionnaires. The results were as follows: 1. The post-test arithmetic mean score of hazardous substances achievement of the students with high level of learning achievement was higher than stipulated criterion score at 80% in 4 aspects : the danger of hazardous in the different products in the community, the classification of products that are non-toxic and toxic, the practical ways on how to choose the product that are non-toxic and the practical ways on how to avoid using the toxic products at the .01 level of significance. 2. The post-test arithmetic mean score of hazardous substances achievement of the students with middle level of learning achievement was higher than stipulated criterion score at 70% in the same 4 aspects at the .01 level of significance. 3. The post-test arithmetic mean score of hazardous substances achievement of the students with low level of learning achievement was higher than stipulated criterion score at 60% in the same 4 aspects at the .01 level of significance. 4. Most students who join in this program think the program is most appropriate especially when tha video is as an instructional material. The students also perceive that joining in this program is most advantageous. The student think the content and the 15-time field trips are appropriate at the moderate level.en
dc.format.extent863209 bytes-
dc.format.extent954545 bytes-
dc.format.extent2368658 bytes-
dc.format.extent1005829 bytes-
dc.format.extent907724 bytes-
dc.format.extent1164557 bytes-
dc.format.extent2079914 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.502-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษานอกสถานที่en
dc.subjectสิ่งแวดล้อมศึกษาen
dc.subjectสารพิษ -- การศึกษาและการสอนen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาเรื่อง สารเป็นพิษใกล้ตัวด้วยวิธีสอนแบบศึกษานอกสถานที่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสวนหลวง สังกัดกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA development of an environmental education teaching program on hazardous substances using field trip teaching method for prathom suksa five students in Suanluang School under the jurisdiction of the Bangkok Metropolitan Administrationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSumlee.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.502-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suchada_Po_front.pdf842.98 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_Po_ch1.pdf932.17 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_Po_ch2.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open
Suchada_Po_ch3.pdf982.25 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_Po_ch4.pdf886.45 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_Po_ch5.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Suchada_Po_back.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.