Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9971
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายใจ อินทรัมพรรย์-
dc.contributor.authorสิริชัย เอี่ยมสอาด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2009-08-12T04:34:13Z-
dc.date.available2009-08-12T04:34:13Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743319913-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9971-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยมีดังนี้ 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสนใจในการอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน กับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทยกับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสนใจในการอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน กับความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสนใจในการอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน ความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทย และผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษากรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2541 จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความสนใจในการอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน แบบทดสอบความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทย และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาไทยที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสหสัมพันธ์พหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. ความสนใจในการอ่านเพื่อความเพลินเพลินมีความสัมพันธ์ทางบวก กับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2. ความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3. ความสนใจในการอ่านเพื่อความเพลิดเพลินมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 4. ความสัมพันธ์ระหว่างความสนใจในการอ่านเพื่อความเพลิดเพลินและความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทย มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were as follows: 1. To study the relationship between reading interest for pleasure and learning achievement in Thai language of mathayom suksa three students. 2. To study the relationship between expository writing ability and learning achievement in Thai language of mathayom suksa three students. 3. To study the relationship between reading interest for pleasure and expository writing ability in Thai language of mathayom suksa three students. 4. To study the relationship between reading interest for pleasure, expository writing ability and learning achievement in Thai language of mathayom suksa three students. The samples of this study were 400 mathayom suksa three students in the 1998 academic year of in school under the Jurisdiction of the Department of General Education, Bangkok Metropolis. The research instruments used in this study were the reading interest for pleasure questionnaire, the expository writing ability test and the learning achievement in Thai language test constructed by the researcher. The data were analyzed by means of Pearson product moment correlation and multiple correlation. The results of this research were as follows: 1. There was positive correlation between reading interest for pleasure and learning achievement in Thai language of mathayom suksa three students at 0.01 level of significance. 2. There was positive correlation between expository writing ability and learning achievement in Thai language of mathayom suksa three students at 0.01 level of significance. 3. There was positive correlation between reading interest for pleasure and expository writing ability in Thai language of mathayom suksa three students at 0.01 level of significance. 4. There was positive correlation between reading interest for pleasure, expository writing ability and learning achievement in Thai language of mathayom suksa three students at 0.01 level of significance.en
dc.format.extent1039975 bytes-
dc.format.extent787511 bytes-
dc.format.extent1235833 bytes-
dc.format.extent815025 bytes-
dc.format.extent710017 bytes-
dc.format.extent751955 bytes-
dc.format.extent1327703 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความสนใจในการอ่านen
dc.subjectภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectภาษาไทย -- การเขียนen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความสนใจในการอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน ความสามารถในการเขียนความเรียง และผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeRelationships among reading interest for pleasure, expository writing ability and learning achievement in Thai language of mathayom suksa three students in school under the Jurisdiction of the Department of General Education, Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสอนภาษาไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirichai_Ai_front.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Sirichai_Ai_ch1.pdf769.05 kBAdobe PDFView/Open
Sirichai_Ai_ch2.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Sirichai_Ai_ch3.pdf795.92 kBAdobe PDFView/Open
Sirichai_Ai_ch4.pdf693.38 kBAdobe PDFView/Open
Sirichai_Ai_ch5.pdf734.33 kBAdobe PDFView/Open
Sirichai_Ai_back.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.