Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา-
dc.contributor.advisorสุพจน์ เตชวรสินสกุล-
dc.contributor.authorศุภกิจ อัมพรพะงา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-10T10:27:01Z-
dc.date.available2009-09-10T10:27:01Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741749937-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11090-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้แบ่งการศึกษาออกเป็นสองส่วนหลัก คือ ในส่วนแรกเป็นการศึกษาถึงปัจจัยทางกายภาพต่างๆ ว่ามีอะไรบ้างที่มีความสำคัญต่อการกำหนดพื้นที่ก่อสร้างอู่ซ่อมเรือ ส่วนที่สองของการศึกษา เป็นการนำปัจจัยที่ได้กล่าวมาแล้วมาใช้เป็นตัวแปรในการคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมในการที่จะทำการสร้างอู่ซ่อมเรือขนาดต่างๆ โดยอาศัยเทคนิควิธี Analytic Hierarchy Process (AHP) ในการวิเคราะห์ ซึ่งวิธี AHP นี้เป็นวิธีการช่วยในการตัดสินใจคัดเลือกสิ่งที่เหมาะสมที่สุดภายใต้เงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งอย่างมีตรรกและมีเหตุผล การทดลองคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้ ได้ทำการศึกษากับพื้นที่กรณีตัวอย่างจำนวน 3 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่ที่ 1 บริเวณอ่าวบางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่ที่ 2 บริเวณอ่าวท้องท่าคว่ำ จ.นครศรีธรรมราช และพื้นที่ที่ 3 บริเวณนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จ.ชลบุรี ผลการศึกษาพบว่า เมื่อพิจารณารวมทุกปัจจัยแล้วลำดับความเหมาะสมของพื้นที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันสำหรับอู่เรือทุกขนาด ได้แก่ พื้นที่บริเวณแหลมฉบังจะมีความเหมาะสมมากที่สุด รองลงมาได้แก่ พื้นที่อ่าวท้องท่าคว่ำ และสุดท้าย คือ พื้นที่อ่าวบางสะพาน ซึ่งเมื่อพิจารณาแยกตามรายปัจจัยทางกายภาพแต่ละปัจจัยแล้ว พบว่า ปัจจัย 4 ใน 8 ปัจจัยของความเหมาะสมยังเป็นพื้นที่ที่ 3 (แหลมฉบัง) มีความเหมาะสมมากที่สุดในการกำหนดเป็นพื้นที่ก่อสร้างอู่เรือทุกขนาดen
dc.description.abstractalternativeThis study is divided into two main parts. The first part deals with the finding of the factors influencing the selection of a suitable site to establish a shipyard. The second part deals with the assessment and ranking of their influential power bearing on the decision making process. Analytic Hierarchy Process (AHP) technique employing logical and reasoning train-of-thought procedure under one or another imposed condition was employed in the selection process. Three sites were chosen for the study namely Bang Sa Phan in Prachub Kiri Khan, Tong Ta Qum Bay in Nakhon Si Thammaraj and the proposed site for shipyard industrial park at Laem Chabang in Chon Buri. The results revealed that when all the factors were considered, they all indicated in the same direction that Laem Chabang was the most suitable site to establish a shipyard followed by Tong Ta Qum and Bang Sa Phan came last. Further, when each factor in term of its suitability was examined one-by-one four out of eight were in favour of Laem Cha Bang confirming its first choice of preference.en
dc.format.extent3653950 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอู่ต่อเรือ -- สถานที่ตั้งen
dc.titleปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อการเลือกสถานที่ก่อสร้างอู่ซ่อมเรือen
dc.title.alternativePhysical factors influencing the selection of shipyard locationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAnukalya.I@Chula.ac.th-
dc.email.advisorsupot.t@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supakij.pdf3.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.