Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11876
Title: พฤติกรรมการสื่อสาร ความคาดหวังผลประโยชน์ และความน่าเชื่อถือของรายการวิทยุเพื่อสังคมและชุมชน : ศึกษากรณีสถานีวิทยุชุมชน
Other Titles: Communication behaviors, benefits expectation and the perceived source credibility of the audiences on the radio programme for society and community : a case study of the city radio station
Authors: พิชญา รัตนพล
Advisors: ปาริชาต สถาปิตานนท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Parichart.S@chula.ac.th
Subjects: การสื่อสาร
พฤติกรรม
สถานีวิทยุ
วิทยุกระจายเสียง
ความเชื่อถือได้
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะทางประชากรความคาดหวังผลประโยชน์ และความน่าเชื่อถือ กับพฤติกรรมการสื่อสารของสมาชิกสถานีวิทยุชุมชน โดยทำการศึกษากับสมาชิกสถานีวิทยุชุมชน กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 395 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอในรูปของร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t(t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (ANOVA) การทดสอบรายคู่ของ Scheffe และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ซึ่งประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัย พบว่า 1. เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสื่อสาร 2. ระดับความคาดหวังผลประโยชน์ต่อตนเองและต่อสังคมจากสถานีวิทยุชุมชน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสื่อสาร 3. ระดับความน่าเชื่อถือด้านผู้ดำเนินรายการและข้อมูลข่าวสารในสายตาของสมาชิกสถานีวิทยุชุมชนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสื่อสาร
Other Abstract: The purpose of this research was to investigate the relationship of demographic characteristics, benefits expectation and the perceived source credibility with communication behaviors of members of the city radio station. Survey questionnaires was distributed by mail to the total 395 samples from members. Percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of varience (ANOVA), Multiple Comparison of Scheffe method and Pearson's Product Moment Correlation Coefficient were used to analyze the data. SPSS program was employed for data processing. The results of the research are as follows : 1. Sex, age, education level and occupation are correlated with communication behaviors. 2. Benefits expectation is correlated with communication behaviors. 3. The perceived source credibility of the audience is correlated with communication behaviors.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิเทศศาสตรพัฒนาการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11876
ISBN: 9746387588
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pichaya_Ra_front.pdf770.22 kBAdobe PDFView/Open
Pichaya_Ra_ch1.pdf757.33 kBAdobe PDFView/Open
Pichaya_Ra_ch2.pdf963.81 kBAdobe PDFView/Open
Pichaya_Ra_ch3.pdf775.48 kBAdobe PDFView/Open
Pichaya_Ra_ch4.pdf903 kBAdobe PDFView/Open
Pichaya_Ra_ch5.pdf812.11 kBAdobe PDFView/Open
Pichaya_Ra_back.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.