Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12312
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสรี จันทรโยธา | - |
dc.contributor.author | ธรรมวัฒน์ การุณธนกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-19T09:37:30Z | - |
dc.date.available | 2010-03-19T09:37:30Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743316957 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12312 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาการกัดเซาะรอบตอม่อสะพานที่วางเรียงเป็นแถวที่ระยะต่างๆ โดยใช้แบบจำลองชลศาสตร์ทางกายภาพนี้ เป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของรูปแบบของหลุมกัดเซาะกับพฤติกรรมการไหลของน้ำและลักษณะของตะกอนท้องน้ำ ซึ่งการศึกษานี้ใช้ตอม่อจำลองรูปทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.8 ซม. นำมาวางเรียงกันในรางน้ำสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดความยาว 18 ม. กว้าง 0.60 ม. และลึก 0.75 ม. โดยมีระยะห่างระหว่างตอม่อเท่ากับ D 2D และ 3D ตามลำดับ เมื่อ D คือ เส้นผ่านศูนย์กลางของตอม่อ ฝังอยู่ในทรายขนาดสม่ำเสมอ 3 ขนาด ได้แก่ ทรายละเอียด (fine sand) Phi 0.36 มม. ทรายปานกลาง (medium sand) Phi 1.20 มม. และทรายหยาบ (coarse sand) Phi 2.20 มม. ภายใต้ภาวะที่ไม่มีการเคลื่อนที่ของวัสดุท้องน้ำ (clear water) และภาวะที่มีการเคลื่อนที่ของวัสดุท้องน้ำ (live bed) โดยมีเงื่อนไขการไหลเป็นแบบคงที่และสม่ำเสมอ (steady and uniform flow) และเป็นการไหลต่ำกว่าวิกฤติ (subcritical flow) จากการวิเคราะห์ผลการทดลอง พบว่าระยะห่างของตอม่อมีอิทธิพลเพียงเล็กน้อยต่อความลึกหลุมกัดเซาะรอบๆ ตอม่อตัวแรก แม้ว่าตอม่ออยู่ในแนวเดียวกันหรือทำมุมกับแนวทิศทางการไหลของน้ำก็ตาม ในขณะที่ตอม่อตัวที่ 2 และ 3 มีความลึกหลุมกัดเซาะลดลงมากกว่าร้อยละ 20 ซึ่งการทดลองนี้มีค่า Fr อยู่ระหว่าง 0.2-0.6 และค่า y/D อยู่ระหว่าง 1-6 ในสภาวะที่ไม่มีการเคลื่อนที่ของวัสดุท้องน้ำ สำหรับสภาวะที่มีการเคลื่อนที่ของวัสดุท้องน้ำมีค่า Fr อยู่ระหว่าง 0.4-0.8 และค่า y/D อยู่ระหว่าง 1-2 นอกจากนี้ขนาดของวัสดุท้องน้ำยังมีผลต่อความลึกหลุมกัดเซาะรอบๆ ตอม่อ โดยขนาดวัสดุท้องน้ำแปรผกผันกับความลึกหลุมกัดเซาะในเงื่อนไขทางชลศาสตร์เดียวกันและขนาดตอม่อเท่ากัน | en |
dc.description.abstractalternative | Studies of local scour around row bridge piers by using physical hydraulics model to determine the relationships of row pier scour hole to flow behavior and bed sediment characteristics. Modeled cylindrical piers having the diameter of 4.8 cm. are used in this investigation. Rectangular flume of 18 m.long, 0.60 m.wide and 0.75 m.high attached with sand feeder is used as a flow channel and sediment generator. Pier spacings are set at 1, 2 and 3 times of pier diameter, respectively. The study is performed using three different sizes of uniform sands including fine sand Phi 0.36 mm., medium sand Phi 1.20 mm. and coarse sand Phi 2.20 mm. under the flow conditions of clear water and live bed. Condition of flow for this study is maintained at steady-uniform and subcritical flow. Based on results of the study, it has been found that effect of pier spacings on the depth of the first pier scour hole is very small and flow angles of attack also slightly effect the first pier scour hole. However, scour hole depths for the second and third piers are about 80% of the first scour hole. The ranges of the Froude Number and the y/D ratio of the experiment under clear-water condition are between 0.2-0.6 and 1-6, respectively. For live-bed condition, the Froude Number ranges between 0.5-0.8 and the y/D ratio ranges between 1-2. The size of bed sediment significantly effects the depth of pier scour hole. Based on the same hydraulics of flow and the same pier characteristic, it has been found that smaller size of sediment produces deeper scour hole. | en |
dc.format.extent | 784927 bytes | - |
dc.format.extent | 753241 bytes | - |
dc.format.extent | 1125353 bytes | - |
dc.format.extent | 902028 bytes | - |
dc.format.extent | 980777 bytes | - |
dc.format.extent | 735252 bytes | - |
dc.format.extent | 1429336 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สะพาน -- ฐานรากและตอม่อ | en |
dc.subject | การกัดเซาะสะพาน | en |
dc.title | การกัดเซาะรอบตอม่อสะพานที่เรียงเป็นตับ | en |
dc.title.alternative | Local scour around row bridge piers | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมแหล่งน้ำ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Seree.C@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thammawat_Ka_front.pdf | 766.53 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Thammawat_Ka_ch1.pdf | 735.59 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Thammawat_Ka_ch2.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thammawat_Ka_ch3.pdf | 880.89 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Thammawat_Ka_ch4.pdf | 957.79 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Thammawat_Ka_ch5.pdf | 718.02 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Thammawat_Ka_back.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.