Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12964
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.advisorวันชัย ริจิรวนิช-
dc.contributor.authorวิรงรอง วัชรสุวรรณเสรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2010-06-22T08:04:48Z-
dc.date.available2010-06-22T08:04:48Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743330526-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12964-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractรูปแบบของสวนอุตสาหกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อมและด้านเศรษศาสตร์ ที่เรียกว่าสวนนิเวศน์อุตสาหกรรมเชิงเศรษฐศาสตร์ (Eco-Industrial Park, EIP) และตัวอย่างในการเริ่มพัฒนาสวนนิเวศน์อุตสาหกรรมเชิงเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยเกิดจากการศึกษาจากข้อมูลในเว็บไซด์ต่างๆ ในระบบเครือข่ายข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ (Internet) และข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา EIP ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา รวมถึงการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากภายในประเทศ ซึ่งจากการศึกษาพบว่า รัฐบาลจะต้องแสดงเจตนารมณ์ในการที่จะพัฒนาส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจังและมีความพร้อมที่จะลงทุน จึงจะสามารถผลักดันให้เกิดการพัฒนา EIP ขึ้นได้ โดยในการพัฒนา EIP นั้นจะเกี่ยวข้องกับการศึกษาพื้นที่ที่จะเข้าไปตั้ง EIP ทั้งในด้านนิเวศน์วิทยาของพื้นที่ ประเภทของอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ในบริเวณนั้น การออกแบบการใช้พื้นที่เพื่อรักษาระบบนิเวศน์เดิมไว้ การศึกษาถึงเทคนิคในการนำของเสียหรือผลผลิตพลอยได้ (Non Product Output, NPO) มาใช้ การออกแบบโครงข่ายการแลกเปลี่ยนของเสียหรือผลผลิตพลอยได้ (NPO Network Design) และการออกแบบเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการจัดการข้อมูลและประมวลผล (Information System and Evaluate Tool) ซึ่งหากมี ข้อมูลที่ถูกต้องและมากเพียงพอ และมีเครื่องมือช่วยออกแบบที่มีประสิทธิภาพ จะทำให้การพัฒนา EIP มีความเสี่ยงต่อการผิดพลาดน้อยลง จากการพัฒนา EIP จะทำให้เกิดประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม โดยสมาชิกของสวนอุตสาหกรรมยังคงได้รับผลตอบแทนเช่นเดิมหรืออย่างน้อยไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มในระยะยาว รวมถึงประโยชน์ต่อสังคมอันได้แก่ การจ้างงาน และการลดภาระของประชาชนที่ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อมen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this thesis are to present the pattern of the industrial park which focusing on ecology and economy, Eco-Industrial Park (EIP), and also a case study that can be used as a model for the development of Eco-Industrial Park in Thailand. The data used in this research is gathered from related web site around the world and agencies in the USA, Canada and Thailand. The study indicates that government must illustrates its support in promoting and funding environmental development projects. EIP involved study of landscape, ecology, industrial type in the area and utilization of land in order to maintain balance of the ecology. EIP also pertaining to study the uses of non-product output and design tools that will be used in information processing and evaluating. With precise and enough data as well as design tools, the risk of making mistake in development EIP will be reduced. EIP development will be benefit to environment as well as industrial park members. EIP may reduce long term expense, create jobs and reduce population's environmental expense.en
dc.format.extent435762 bytes-
dc.format.extent234687 bytes-
dc.format.extent872025 bytes-
dc.format.extent415674 bytes-
dc.format.extent663219 bytes-
dc.format.extent475214 bytes-
dc.format.extent279610 bytes-
dc.format.extent966067 bytes-
dc.format.extent251738 bytes-
dc.format.extent3229362 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรม -- ไทยen
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรมen
dc.subjectสวนนิเวศน์อุตสาหกรรมเชิงเศรษฐศาสตร์en
dc.titleเกณฑ์ในการพัฒนาสวนนิเวศน์อุตสาหกรรมเชิงเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยen
dc.title.alternativeCriteria for eco-industrial park development in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuthas.R@Chula.ac.th-
dc.email.advisorVanchai.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wirongrong_Wa_front.pdf425.55 kBAdobe PDFView/Open
Wirongrong_Wa_ch1.pdf229.19 kBAdobe PDFView/Open
Wirongrong_Wa_ch2.pdf851.59 kBAdobe PDFView/Open
Wirongrong_Wa_ch3.pdf405.93 kBAdobe PDFView/Open
Wirongrong_Wa_ch4.pdf647.67 kBAdobe PDFView/Open
Wirongrong_Wa_ch5.pdf464.08 kBAdobe PDFView/Open
Wirongrong_Wa_ch6.pdf273.06 kBAdobe PDFView/Open
Wirongrong_Wa_ch7.pdf943.42 kBAdobe PDFView/Open
Wirongrong_Wa_ch8.pdf245.84 kBAdobe PDFView/Open
Wirongrong_Wa_back.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.