Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1493
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา รู้กิจการพานิช-
dc.contributor.authorชัยรัตน์ กิตติธรรมโรจน์, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-05T06:15:23Z-
dc.date.available2006-08-05T06:15:23Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741759169-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1493-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญในการวินิจฉัยสาเหตุข้อขัดข้อง สำหรับระบบทำความเย็นขนาดใหญ่ที่ใช้เครื่องอัดน้ำยาชนิดลูกสูบและชนิดสกรู หลังจากการวินิจฉัยเพียงประสบการณ์ถ้าวิศวกรไม่สามารถแก้ไขข้อขัดข้องได้ เพราะยังไม่มีวิธีแก้ไขข้อขัดข้องที่เหมาะสม ทำให้ลูกค้าเกิดความรอคอย ลดระดับความพึงพอใจ หรือสูญเสียโอกาสในการทำงานได้ ในงานวิจัยนี้จึงทำให้การวินิจฉัยมีความรวดเร็ว ความถูกต้อง และความเหมาะสมกับปัญหาระบบผู้เชี่ยวชาญนี้แบ่งฐานความรู้ได้ 4 ฐาน ได้แก่ ฐานที่ 1 คืออาการผิดปรกติแบ่งตามส่วนของระบบที่เกิดความผิดปรกติเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเครื่องอัดน้ำยา กลุ่มความดัน กลุ่มอุณหภูมิ กลุ่มน้ำมันหล่อลื่น และกลุ่มอื่นๆ โดยจำนวนอาการผิดปรกติของระบบทำความเย็นที่ใช้เครื่องอัดน้ำยาชนิดลูกสูบมี 23 อาการ และชนิดสกรูมี 21 อาการ ฐานที่ 2 คือสาเหตุที่เสียซึ่งแบ่งตามส่วนของระสาเหตุที่เสียเป็น 9 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไฟฟ้า-เมน กลุ่มไฟฟ้า-ข้อต่อ กลุ่มเครื่องควบคุมอัตโนมัติ กลุ่มน้ำมันหล่อลื่น กลุ่มน้ำยาทำความเย็น กลุ่มคอนเดนเซอร์ กลุ่มเอ็กซ์เปนชั่นวาล์ว กลุ่มเครื่องอัดน้ำยา และกลุ่มอื่นๆ โดยจำนวนสาเหตุที่เสียของระบบทำความเย็นที่ใช้เครื่องอัดน้ำยาชนิดลูกสูบมี 61 สาเหตุ และชนิดสกรูมี 47 สาเหตุ ฐานที่ 3 คือความสัมพันธ์ระหว่างอาการผิดปรกติกับสาเหตุที่เสีย โดยนำอาการผิดปรกติจากฐานที่ 1 และสาเหตุที่เสียจากฐานที่ 2 มาจับคู่ความสัมพันธ์แบบ 1:M (One to Many) โดยจำนวนความสัมพันธ์ อาการ-สาเหตุ ของเครื่องอัดน้ำยาชนิดลูกสูบมี 236 แบบ และชนิดสกรูมี 93 แบบ และฐานสุดท้าย คือการตรวจสอบและการแก้ไขที่สัมพันธ์กับสาเหตุที่เสียซึ่งอยู่ในฐานที่ 2 ในส่วนของการดำเนินงานศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะที่หนึ่งเริ้มจากการแสวงหาความรู้จากหนังสือคู่มือ ผู้เชี่ยวชาญ และข้อมูลสถิติอาการ-สาเหตุ แล้วทบทวนและตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญอีกครั้ง ระยะที่สองเริ่มจากการออกแบบการแสดงาความรู้ จนถึงได้ระบบผู้เชี่ยวชาญสำหรับวินิจฉัยข้อขัดข้องของระบบทำความเย็น พร้อมทั้งตรวจสอบการใช้งานโดยผู้เชี่ยวชาญ และพิสูจน์ความถูกต้องของโปรแกรมจำนวน 20 กรณี ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ถูกพัฒนาโดยใช้โปรแกรม Ms Access เป็นส่วนเก็บฐานข้อมูลไว้เป็นฐานความรู้สถิต และใช้การโปรแกรมด้วยภาษาเดลไฟ (Delphi) เป็นส่วนติดต่อกับผู้ใช้งานโดยใช้กลไกการวินิจฉัยแบบย้อนกลับen
dc.description.abstractalternativeTo develop of an expert system for the troubleshooting of the enormous refrigeration systems after only experience diagnosis. If engineers were connot repair because they were not have remedy method. Customers were waited, decreased satisfy or missed opportunity in work. This thesis make for diagnoses have nimbleness, accuracy and suitability with problems. This expert system can be divided into four knowledge bases. The first knowledge base is consisting of several mistake conditions. They are related to the compressor, pressure, temperature, lubricant and other conditions. The mistake conditions for reciprocating compressor and screw compressor are 23 and 21, respectively. The second knowledge base is consisting of several failure causes. They are related to electric-main, electric-joint, automatic equipment, lubricant, refrigerant, condenser, expansion valve, compressor and other causes, the failure caused for reciprocating compressor and screw compressor are 67 and 47, respectively. The third knowledgebase is consisting of several relations between the mistake conditions and the failure causes. The relations type is 1:M (One to Many), They are 236 relations for reciprocating compressor and 93 relations for screw compressor. The last knowledge base covers the inspection and the remedy. The base is related to the failure causes from the second knowledge base. The methodology of the study can be divided into two phase. Firstly, the knowledge was acquitted from manuals, experts and condition-cause statistic data. This knowledge was reviewed and verified by the expert again. Secondly, the knowledge representation was designed. And the expert system for troubleshooting of the refrigeration systems was built. This system was used by experts and validated 20 case. For the system build, Ms Access was used for the static knowledge base and the Delphi language was used. The backward-chaining method was used for the inference engine.en
dc.format.extent2749747 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectระบบผู้เชี่ยวชาญ (คอมพิวเตอร์)en
dc.subjectการทำความเย็นและเครื่องทำความเย็นen
dc.titleการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญสำหรับวินิจฉัยข้อขัดข้องระบบทำความเย็นen
dc.title.alternativeDevelopment of an expert system for troubleshooting of the refrigeration systemsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chairat.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.