Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15228
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชนี สิงห์อาษา-
dc.contributor.authorเกวลิน เค้ามูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2011-05-28T06:52:52Z-
dc.date.available2011-05-28T06:52:52Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746312316-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15228-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractการศึกษานี้จะดูผลของ ฮอร์โมนคอร์ติโคโธปินรีลีซซิ่ง (ซีอาร์เอช) และอินเตอร์ลิวคิน-1 เบต้า (ไอแอล-1เบต้า) เปรียบเทียบกับฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโธปิน(เอซีทีเอช) ในการกระตุ้นการหลั่งคอร์ติซอลและใช้ฮอร์โมนคอร์ติโคโธปินอินฮิบิติ้วเปปไทส (ซีไอพี) เป็นตัวยับยั้งการหลั่งคอร์ติซอล ที่เกิดจากการกระตุ้นของ เอซีทีเอช โดยทดลองกับเซลล์ต่อมหมวกไตในสภาพที่แยกเป็นเซลล์ กับสภาพที่หั่นเป็นชิ้นในแฮมสเตอร์ ผลการวิจัยพบว่าความเข้มข้นที่เหมาะสมของ เอซีทีเอช,ซีอาร์เอช และ อินเตอร์ลิวคิน-1เบต้า ในการกระตุ้นการหลั่งคอร์ติซอล จากเซลล์ต่อมหมวกไตในสภาพที่หั่นเป็นชิ้น ในน้ำยาเพาะเลี้ยง M 199 พบว่าความเข้มข้น 10-6 โมลาร์ จะทำให้มีปริมาณการหลั่งคอร์ติซอล มากที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% และความเข้มข้นของ ซีไอพี ที่ยังยั้งการหลั่งคอร์ติซอล ที่เกิดจากการกระตุ้นของ เอซีทีเอช ความเข้มข้น 10-6 โมลาร์ ได้อย่างสมบูรณ์คือ 10-6 โมลาร์ เช่นกัน พบว่า เอซีทีเอช,ซีอาร์เอช และอินเตอร์ลิวคิน-1เบต้า ที่ความเข้มข้น 10-6 โมลาร์ สามารถกระตุ้นการหลั่งคอร์ติซอลจากเซลล์ต่อมหมวกไตในสภาพที่หั่นเป็นชิ้นเมื่อเลี้ยงได้ 1 ชั่วโมงแรก โดยมีปริมาณการหลั่งคอร์ติซอล คือ 41.08+8.53, 18.31+4.86 และ 13.19+0.69 พิโครโมลต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ และเมื่อสิ้นสุดการเลี้ยงในชั่วโมงที่ 2 สามารถกระตุ้นการหลั่งคอร์ติซอลเพิ่มขึ้นโดยมีประมาณ 76.34+10.04, 56.16+5.70 และ 16.87+1.57 พิโครโมลต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% แต่เมื่อทดลองกับเซลล์ต่อมหมวกไตในสภาพที่แยกเป็นเซลล์ ปริมาณการหลั่งคอร์ติซอลจะลดลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% นอกจากนี้พบว่า ซีไอพี ที่ความเข้มข้น 10-6 โมล่าร์ สามารถยับยั้งการหลั่งคอร์ติซอลที่เกิดจากการกระตุ้นของ เอซีทีเอช จากเซลล์ต่อมหมวกไตได้ทั้งในสภาพที่แยกเป็นเซลล์ และสภาพที่หั่นเป็นชิ้นen
dc.description.abstractalternativeThe effects of Corticotropin releasing hormone (CRH) and Interleukin-1Bata (IL-1Bata) were studied, comparing to the Adrenocorticotrophic hormone (ACTH) in stimulation of cortisol release. In addition, Corticotropin inhibiting peptide (CIP) was used as an inhibitor for the release of ACTH-stimulated cortisol in isolated adrenal cells and adrenal slices of hamsters. The optimal concentration of ACTH, CRH and IL-1Bata for the stimulation of cortisol released from adrenal slices in medium M199 was found to be 10-6 M. This concentration induced the highest release of cortisol, significantly (P<10.01) and the concentration of CIP completely reversed the increases in corttsol production by ACTH was 10-6 M. It was found that ACTH,CRH and IL-1Bata each at concentration of 10-6 M could stimulate cortisol release from adrenal slices at the end of the first hour in media. The amounts of cortisol were 41.08+8.53, 18.31+4.86 and 13.19+0.69 pmol/ml respectively. While at the end of the second hour, the amount of cortisol was increase to be 76.34+10.04, 56.16+5.70 and 16.87+1.57 pmol/ml, significantly (P<0.01). In the isolated adrenal cell, the amounts of cortisol stimulated by ACTH, CRH and IL-1Bata were smaller than these products by adrenal slices at the same intervals. CIP at 10-6 M inhibited the ACTH-stimulated cortisol release both form isolated adrenal cells and adrenal slices.en
dc.format.extent2727471 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคอร์ติซอลen
dc.subjectต่อมหมวกไตen
dc.subjectฮอร์โมนen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบการหลั่งคอร์ติซอลจากอะดรีนัลเซลล์ในสภาพที่แยกเป็นเซลล์และสภาพที่หั่นเป็นชิ้นในแฮมสเตอร์en
dc.title.alternativeComparative study of cortisol released from isolated adrenal cells and adrenal slices in hamstersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสรีรวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPatchanee.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
keawalin_ka.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.