Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19269
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขจร ตีรณธนากุล-
dc.contributor.advisorสมชาย เอี่ยมอ่อง-
dc.contributor.authorอรอนงค์ เจียรสุจิตวิมล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-04-28T01:07:04Z-
dc.date.available2012-04-28T01:07:04Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19269-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractที่มา ภาวะไตวายเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตมีอัตราการเสียชีวิตสูง แม้ว่ามีการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีด้วย continuous venovenous hemofiltration (CVVH) แล้วก็ตาม สาเหตุหนึ่งจาก CVVH เองมีความเสี่ยงต่อภาวะการไม่เข้ากันของเลือดกับตัวกรอง ทำให้มีการกระตุ้นและหลั่ง Myeloperoxidase (MPO) จากแกรนูลของนิวโตรฟิล (polymorphonuclear cell, PMN) ซึ่งส่งผลกระตุ้นภาวะการอักเสบของร่างกายตามมา มีรายงานการใช้ซิเตรดเป็นสารต้านลิ่มเลือดโดยลดแคลเซียมอิสระเฉพาะในตัวกรอง และให้แคลเซียมชดเชยกลับเข้าสู่ร่างกาย สามารถลดการหลั่งแกรนูลของนิวโตรฟิลในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ทำการฟอกเลือด การศึกษานี้เปรียบเทียบการหลั่งแกรนูลของนิวโตรฟิลที่เกิดขึ้นในตัวกรองเทียบระหว่างกลุ่มที่ได้ซิเตรดและเฮปารินโดยใช้ระดับ MPO เป็นตัวชี้วัด วิธีการศึกษา ผู้ป่วยวิกฤตทุกรายที่มีข้อบ่งชี้ในการทำ CVVH จำนวน 20 ราย จะถูกสุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกได้ซิเตรด (10 ราย) และกลุ่มที่ 2 ได้เฮปาริน (10 ราย) ใช้ตัวกรองสังเคราะห์ชนิด polyethersulfone ทั้ง 2 กลุ่ม ทำการตรวจระดับ MPO ก่อนและหลังตัวกรองที่ 3 จุดเวลาคือ เริ่มต้น, 6 ชั่วโมงและ 24 ชั่วโมง ผลการศึกษา ผู้ป่วยทั้ง 20 รายมีลักษณะพื้นฐานและความรุนแรงของโรคไม่แตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบระดับ MPO ก่อนและหลังตัวกรองที่ 3 จุดเวลา พบว่าในกลุ่มเฮปารินที่ 6 ชั่วโมง ระดับ MPO หลังตัวกรอง (76.7 ± 69.8 นาโนกรัม/มล.) สูงกว่าระดับ MPO ก่อนตัวกรอง (66.0 ± 63.5 นาโนกรัม/มล.) อย่างมีนัยสำคัญ (p=0.02) เมื่อเปรียบเทียบระดับ MPO ก่อนตัวกรองในกลุ่มเดียวกันที่ 3 จุดเวลา พบว่าในกลุ่มซิเตรดมีระดับ MPO ก่อนตัวกรองที่เวลา 6 และ 24 ชั่วโมงต่ำกว่าเวลาเริ่มต้นอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.01) สรุปผลการศึกษา การหลั่งแกรนูลของเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโตรฟิลในตัวกรองขณะทำ CVVH สามารถลดลงได้เมื่อใช้ซิเตรดเป็นสารต้านลิ่มเลือดและซิเตรดยังมีผลต่อการลดระดับ MPO ซึ่งเป็นอนุมูลอิสระในร่างกายได้en
dc.description.abstractalternativeBackground Most critically ill patients with acute kidney injury (AKI) need treatment with continuous venovenous hemofiltration (CVVH). The mortality rate, which is extremely high in this patient group. Membrane bioincompatibility during CVVH could increased the oxidative stress and induced inflammation. In chronic hemodialysis, regional citrate anticoagulation could decreased myeloperoxidase (MPO), the marker of PMN degranution. This is the first study conducted to examine the effect of regional citrate anticoagulation versus heparin on PMN cells degranulation . Methods Twenty consecutive critically ill patients were randomized to regional citrate group (n=10) and heparin group (n=10).The pre-dilution CVVH and polyethersulfone dialyzers were used in both groups. The pre and postfilter MPO levels were measured at baseline, 6 hr and 24 hr. Results In heparin group, the postfilter MPO level (76.7 ± 69.8 ng/mL) was significantly higher than the prefilter level (66.0 ± 63.5 ng/mL) at 6 hr (p=0.02). In the citrate group, the prefilter MPO level at 6 and 24 hr was significantly lower than baseline (p<0.01). Conclusions PMN degranulation as a result of the reaction between dialyzer membrane and blood can be reduced by using regional citrate instead of heparin as an anticoagulant in CVVH. Furthermore, regional citrate anticoagulation can decrease the body MPO level.en
dc.format.extent3373919 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.184-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเลือด -- การแข็งตัวen
dc.subjectไตวายเฉียบพลันen
dc.subjectไต -- โรคen
dc.subjectเม็ดเลือดขาวen
dc.subjectเฮปารินen
dc.titleเปรียบเทียบการหลั่งแกรนูลของเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโตรฟิลระหว่างกลุ่มที่ได้ซิเตรดและเฮปารินในการฟอกเลือดอย่างต่อเนื่องen
dc.title.alternativeComparison effects of heparin and regional citrate anticoagulation on polymorphonuclear cell degranulation in continuous venovenous hemofiltrationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.184-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Onanong_Je.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.