Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22728
Title: | Butyloleate production using immobilized lipase |
Other Titles: | การผลิตบิวทิลโอลิเอตโดยใช้ไลเปสตรึงรูป |
Authors: | Jiranan Chanprasert |
Advisors: | Muenduen Phisalaphong |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | muenduen.p@chula.ac.th |
Subjects: | Biomass energy Oleic acid Butanol Esterification Lipase พลังงานชีวมวล กรดโอเลอิก บิวทานอล เอสเทอริฟิเคชัน ไลเปส |
Issue Date: | 2011 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Biofuels has received significant attention recently as a biodegradable and nonpolluting fuel. In this study, butyloleate was prepared in solvent-free system by esterification of oleic acid with butanol using immobilized lipase Novozym 435 as biocatalyst in a batch system. The conversion of free fatty acid (FFA) could reach 91.0% at reaction temperature of 45°C, oleic acid/butanol molar ratio of 1:2, Novozym 435 loading based on FFA weight of 5%, a shaking rate of 250 rpm, and a reaction period of 24 h. The removal of water that was produced during the enzymatic esterification by the addition of molecular sieves could enhance the FFA conversion to 96.1%. Novozym 435 having been used for five cycles still remained active with only slightly loss of catalytic activity. From kinetic study of the reaction at temperatures of 35- 60°C, the reaction appeared to be second order, at which the activation energy (Ea) was 13.64 kJ/mol. This product could reasonable be used as biobased industrial material in biolubricants and diesel fuel additives. |
Other Abstract: | การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพได้รับความสนใจมากในขณะนี้ เนื่องจากเป็นเชื้อเพลิงที่สามารถย่อยสลายได้และไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม ในการศึกษานี้บิวทิลโอลิเอตถูกเตรียมโดยระบบ ที่ไม่มีการเติมตัวทำละลายโดยปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันของกรดโอเลอิกและบิวทานอล โดยใช้โนโวไซม์ 435 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพโดยระบบแบบกะ โดยมีค่าการเปลี่ยนแปลงของกรดไขมันอิสระถึง 91.0% ที่อุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยา 45°C สัดส่วนโดยโมลาร์ของกรดโอเลอิกต่อบิวทานอลที่ 1:2 ความเข้มข้นของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ 5% โดยน้ำหนักของกรดไขมันอิสระ ความเร็วรอบในการเขย่าที่ 250 รอบต่อนาที และระยะเวลาในการทำปฏิกิริยาที่ 24 ชั่วโมง การแยกน้ำที่เกิดขึ้นในระหว่างการเปิดปฏิกิริยาเอสเตอริฟิเคชั่นด้วยเอนไซม์โดยการเติมโมเลกูลาร์ซีฟ สามารถเพิ่มค่าเปลี่ยนแปลงของกรดไขมันอิสระเป็น 96.1% โนโวไซม์ 435 ที่ถูกนำมาใช้ซ้ำ 5 รอบยังมีความว่องไวโดยที่สูญเสียความว่องไวในการเร่งปฏิกิริยาเพียงเล็กน้อยเท่านั้น จากการศึกษาทางจลพลศาสตร์ของปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 35°C-60°C พบว่าเป็นปฏิกิริยาอันดับสอง ซึ่งมีค่าพลังงานกระตุ้นเท่ากับ 13.64 กิโลจูลต่อโมล ผลิตภัณฑ์นี้มีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นน้ำมันหล่อลื่นชีวภาพและสารเติมแต่งเชื้อเพลิงดีเซลได้ |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2011 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22728 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1671 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2011.1671 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
jiranan_ch.pdf | 2.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.