Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทิกา ทวิชาชาติ-
dc.contributor.advisorพวงสร้อย วรกุล-
dc.contributor.authorปวีณา จินต์สวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-22T03:29:41Z-
dc.date.available2012-11-22T03:29:41Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745312428-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25142-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของ พฤติกรรมการดื่มสุรา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดื่มสุราและลักษณะการดื่มสุราของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน โดยศึกษาจากกสุ่มตัวอย่างจำนวน 402 คน ที่ได้จากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Stratified Sampling แบ่งชั้นตามเพศ และตำแหน่งงาน และแบบ Systematic Sampling จากบัญชีรายชื่อของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินจำนวน 3,989 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ 1. แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัว 2. แบบตัดกรองการติดสุราของมิชิแกนฉบับย่อ (Brief Michigan Alcoholism Screening Test: BMAST) 3. แบบประเมินพฤติกรรมการดึ่มแอลกอฮอล์ ( Alcohol Use Inventory : AUI) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม สำเร็จรูป SPSS สถิติที่ใช้ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบไคสแควร์ การทดสอบค่าสัมประสิทธิ์การณ์จร เทคนิคการวิเคราะห์ความแปรปรวน การเปรียบเทียบ เชิงซ้อนโดยวิธการของเซฟเฟ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า ความชุกของพฤติกรรมการดื่มสุราของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินเท่ากับ ร้อยสะ 59.0 จำแนกเป็นการดื่มปกติ ร้อยละ 52.6 ดื่มมีแนวโน้มว่าติด ร้อยละ1.2 และดื่มติด ร้อยละ 5.2 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มสุราได้แก่ เพศ การสูบบุหรี่ การเคยใช้สารเสพติด ความสัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัว การเคยดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว และการมีเพื่อนดื่มสุรา ปัจจัยที่สามารถทำนายการติดสุราของ พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน ได้แก่ การมีเพื่อนดื่มสุรา ความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัว และ ปัญหาหัวหน้างาน (R² = 27.2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีลักษณะการดื่มสุราอยู่ในเกณฑ์ปกติหมดทั้ง 6 ด้าน กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 32.5 ได้คะแนนสูงกว่าปกติในด้านการเพิ่มประสิทธิผลในการทำบทบาทหน้าที่ร้อยละ 3.4 ได้คะแนนสูงกว่า ปกติในด้านการย้ำคิดเกี่ยวกับการดื่ม และมีการดื่มอย่างต่อเนื่องร้อยละ 0.8 ได้คะแนนสูงกว่าปกติ ในด้านผลเสียจากการดื่มโดยตรงร้อยละ 0.8 ได้คะแนนสูงกว่าปกติ ในด้านผลเสียจากการดื่มโดยอ้อม ร้อยละ 1.7 ได้คะแนนสูงกว่าปกติ ในด้านความกังวลเกี่ยวกับการดื่ม และไม่มีผู้ใดได้คะแนนสูงกว่าปกติในด้านการรับรู้ และตระหนักในปัญหาการดื่ม-
dc.description.abstractalternativeThis study was a cross-sectional descriptive study. The objectives of this study were to estimate the prevalence of alcohol use. to determine the related factors of alcohol drinking, and to explore the characteristics of cabin crews' drinking behavior. The samples consisted of 402 cabin crews. The instrument was a set of questionnaires consisting of 3 parts: demographic questionnaire, Brief Michigan Alcoholism Test (BMAST), and Alcohol Use Inventory (AUI). Data was analyzed by SPSS for Windows. Statistics utilized were mean, percentage, standard deviation, maximum, minimum. Chi-square test, Fisher's Exact test. One-way Analysis of Variance, Multiple comparison: Scheffe's method, and Multiple Linear Regression analysis. The result of the study indicated that the point prevalence of alcohol drinking behavior of cabin crews was 59.1%. Fifty two point six percent of samples were normal drinkers, 1.2% were suggestive alcoholism drinkers and 5.2% were alcoholism drinkers. The chi-square test revealed that sex, smoking, history of use or nonuse illicit drugs, family's members alcohol drinking history, family relationship and having peers drinking alcohol were associated with cabin crews alcohol drinking behavior. By using multiple linear regression analysis, The 9 factors at p<.05 which could be predictive variables of alcoholism were having peers drinking alcohol, family relationship, and having conflicts with supervisors (R²=27.2). Most of subjects in this study obtained the scores of normal ranges in all 6 aspects of characteristics of drinking. The result showed that 32.5% of cabin crews got the high scores on drinking to enhance functioning, 3.4% on obsessive, compulsive, and sustained drinking, 0.8% on uncontrolled life disruption (directly expressed), 0.8% on uncontrolled life disruption (indirect stated), and 1.7% on anxious concern about drinking and acknowledgement and 0% on awareness of drinking problems.-
dc.format.extent3715149 bytes-
dc.format.extent2720171 bytes-
dc.format.extent12564808 bytes-
dc.format.extent2606792 bytes-
dc.format.extent16712701 bytes-
dc.format.extent11610504 bytes-
dc.format.extent7147747 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleพฤติกรรมการดื่มสุรา และปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินen
dc.title.alternativeAlcohol drinking behavior and related factors of cabin crewsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paveena_ji_front.pdf3.63 MBAdobe PDFView/Open
Paveena_ji_ch1.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open
Paveena_ji_ch2.pdf12.27 MBAdobe PDFView/Open
Paveena_ji_ch3.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open
Paveena_ji_ch4.pdf16.32 MBAdobe PDFView/Open
Paveena_ji_ch5.pdf11.34 MBAdobe PDFView/Open
Paveena_ji_back.pdf6.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.