Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28852
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ไวยาพัฒนกร-
dc.contributor.authorเสกสรรค์ มิตรเกษม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-02-13T11:19:15Z-
dc.date.available2013-02-13T11:19:15Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746364359-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28852-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractสายอากาศไมโครสตริปเป็นสายอากาศที่มีอัตราขยายต่ำ จึงนิยมที่จะใช้ในลักษณะเป็นแผงสายอากาศ เพื่อเพิ่มอัตราขยายและมีความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนมากขึ้น อย่างไรก็ตามการจัดเรียงสายอากาศชนิดนี้ใน ลักษณะแผงสายอากาศจะได้รับผลกระทบจากปรากฏการณ์มิวชวลคัปปลิงที่เกิดขึ้นระหว่างองค์ประกอบ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการวิเคราะห์และคำนวณผลกระทบดังกล่าวที่มีต่อแบบรูปการแผ่พลังงานย่านสนามไกลโดยใช้แบบจำลองชนิดโพรงช่วยในการวิเคราะห์ โดยแบ่งการพิจารณาออกเป็น 2 กรณีคือในกรณีที่แรกเป็นแผงสายอากาศไมโครสตริป ที่มี 2 องค์ประกอบที่มีลักษณะการวางตัวของแผ่นตัวนำในลักษณะต่างๆ กันออกไป กล่าวคือเป็นการวางตัวของแผ่นตัวนำในลักษณะวางเคียงกันและขั้นบันได ส่วนในกรณีที่ 2 เป็นแผงสายอากาศไมโครสตริปที่มี 9 องค์ประกอบวางตัวอยู่ในระนาบเดียวกันโดยมีลักษณะการวางตัวเป็นสี่เหลี่ยมจตุรัส ผลการวิจัยพบว่าแบบรูปการแผ่พลังงานมีความผิดเพี้ยนเกิดขึ้นเนื่องจากปรากฏการณ์มิวชวลคัปปลิงไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มหรือลดระดับของอัตราขยาย การเลื่อนตำแหน่งของตำแหน่งเชิงมุมที่เป็นแนวเล็งหลักหรือจุดศูนย์ การบานออกของพูหรือลำคลื่นในแบบรูปการแผ่พลังงาน เป็นต้น ทั้งนี้สามารถสรุปได้ว่าระดับความผิดเพี้ยนที่เกิดขึ้นจากปรากฏการณ์ดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับการจัดวางตัวของแผ่นตัวนำในแผงสายอากาศและระยะห่างระหว่างแผ่นตัวนำ-
dc.description.abstractalternativeMicrostrip antenna has low gain. Hence it is usually arranged as an array in order to increase the gain and flexibility. However, the arrangement of this type of antenna in to array will suffer from the effects of mutual coupling phenomenon. This thesis analyses and calculate such effects on the far field pattern using the cavity model. Two cases are considered here. The first case is the two elements array oriented side by side collinear and in echelon. And the other case is the nine elements array (3K3). Results show that the radiation patterns have some extent of distortion such as the decrease or increase of gain, the shifting of borsight direction and null position and beam broadening. It can be concluded that distortion from this phenomenon depends on the orientation of array elements and the Spacing distance between the elements.-
dc.format.extent15384656 bytes-
dc.format.extent3213184 bytes-
dc.format.extent11687021 bytes-
dc.format.extent3872526 bytes-
dc.format.extent46907725 bytes-
dc.format.extent1956760 bytes-
dc.format.extent2231226 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลกระทบของมิวชวลคัปปลิงที่มีต่อแบบรูปการแผ่พลังงาน ของแผงสายอากาศไมโครสตริปรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าen
dc.title.alternativeEffects of mutual coupilng on the radiation pattern of an array of rectangular microstrip patchesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Seikson_mi_front.pdf15.02 MBAdobe PDFView/Open
Seikson_mi_ch1.pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open
Seikson_mi_ch2.pdf11.41 MBAdobe PDFView/Open
Seikson_mi_ch3.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open
Seikson_mi_ch4.pdf45.81 MBAdobe PDFView/Open
Seikson_mi_ch5.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open
Seikson_mi_back.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.