Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29758
Title: Le Temps dans la Princesse de Cleves
Other Titles: เวลาในนวนิยายเรื่อง "ลาแพรงแซสเดอแคลฟ"
Authors: Yanyong Laositthivarong
Advisors: Malee Mukdaprakorn
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Issue Date: 1987
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: มาดามเดอลาฟาแยตได้เขียนนวนิยายเรื่อง "ลาแพรงแซสเดอแคลฟ" ในปี ค.ศ.1678 ซึ่งก่อ ให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากมาย ในที่สุดนักวิชาการหลายท่านก็ถือว่านวนิยายเรื่องนี้เป็นนิยายเล่มแรก ของฝรั่งเศส ทั้งๆ ที่มีผู้เขียนนวนิยายไว้เป็นจำนวนมากแล้ว สิ่งที่มาดามเดอลาฟาแยตนำเสนอ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องรักสามเส้า จิตวิเคราะห์ หรือความฟอนแฟะในราชสำนักของพระเจ้าเฮนรี่ที่ 2 ล้วนแต่เป็นเรื่องที่เราสามารถหาอ่านได้ในนวนิยายที่เขียนขึ้นก่อนหน้านั้น ดังนั้นสิ่งที่หาให้นวนิยายเล่มนี้มีเอกลักษณ์เฉพาะ และมีคุณสมบัติครบตามรสนิยมของผู้อ่าน จึงเป็นเรื่องกลวิธีการประพันธ์ของมาดามเดอลาฟาแยตเสียมากกว่า ก่อนจะเขียน "ลาแพรงแซสเดอแคลฟ" มาดามเดอลาฟาแยตได้อ่านนวนิยายหลายเล่มและแน่นอนว่าผู้ประพันธ์ย่อมมองเห็นความไม่สมจริงทางด้านการดำเนินเวลาและได้พยายามแก้ปัญหานี้โดยอาศัยหลักเกณฑ์ของ "เปอติโรมอง (petit roman) กล่าวคือ การสร้างเรื่องราวจากจินตนาการผสมผสานกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ มาดามเดอลาฟาแยตใช้เวลาทางประวัติศาสตร์กำหนดเวลาในห้องเรื่องเพื่อสร้างความสมจริง นอกจากนี้ผู้ประพันธ์ยังสร้างเวลาภายใน (temps intérieur) และเวลาภายนอก (temps extérieur) เพี่อวิเคราะห์ภาวะจิตใจของตัวละครเอกได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น นับว่าเป็นกลวิธีการประพันธ์ที่ มิมีผู้ใดริเริ่มมาก่อน ดังนั้นการศึกษาเรื่องเวลาใน "ลาแพรงแซสเดอแคลฟ" จึงช่วยให้เข้าใจความสามารถและเอกลักษณ์ของมาดามเดอลาฟาแยฅ ตลอดจนคุณค่าของนวนิยายเรื่องนี้สมกับที่ได้รับยกย่องว่าเป็นนวนิยาย เล่มแรกของฝรั่งเศส
Other Abstract: Mme de Lafayette a composé la Princesse de Clèves en 1678, ce qui a provoqué une critique très animee parmi les lecteurs classisques. Finalement, elle s'est retrouvee qualifiée de premier roman français, malgré un grand nombre de romans écrits avant elle. Ce qui donne à cette oeuvre un aspect original répondant au goût des lecteurs de l'époque, c'est plutôt la nouvelle technique narrative utilisée par Mme de Lafayette car les thèmes développés à travers ce roman, par exemple, le drame à trois personnes, la psychologie, la perfidie qui règne dans la cour d'Henri II, nous pouvons déjà les trouver dans des romans précédants. Avant de rédiger la Princesse de Clèves, la romancière a sans doute remarqué l'invraisemblance temporelle dans les romans qu'elle avait lus. Elle essaie dès lors de résoudre ce problème en recourant aux principes du "petit roman" dans lequel il s'agit de composer un récit où l'imagination se mele à 1'Histoire. En plus, elle se sert d'une part de la vérité historique comme ossature du temps romanesque pour atteindre la vraisemblance, d'autre part, elle invente lés temps intérieur et extérieur pour approfondir l'analyse psychologique des héros, techniques qui n'avaient encore jamais été utilisées avant elle. Aussi, l'étude du temps nous permet-elle de comprendre sa technique narrative qui explique son talent et son originalité, d'où la valeur de la Princesse de Clèves en tant que premier roman français.
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1987
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29758
ISBN: 9745693189
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yanyong_la_front.pdf3.67 MBAdobe PDFView/Open
Yanyong_la_ch1.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open
Yanyong_la_ch2.pdf25.09 MBAdobe PDFView/Open
Yanyong_la_ch3.pdf32.5 MBAdobe PDFView/Open
Yanyong_la_ch4.pdf22.49 MBAdobe PDFView/Open
Yanyong_la_ch5.pdf3.32 MBAdobe PDFView/Open
Yanyong_la_back.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.