Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30666
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทนา จันทโร-
dc.contributor.advisorไชยะ แช่มช้อย-
dc.contributor.authorเบญจวรรณ นิรมิตวสุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-04-27T07:29:09Z-
dc.date.available2013-04-27T07:29:09Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30666-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือทางสถิติในการตรวจติดตามการใช้พลังงาน แสดงให้เห็นถึงผลประหยัดที่เกิดจากมาตรการอนุรักษ์พลังงาน และประเมินประสิทธิภาพในการใช้พลังงานของโรงงานควบคุม เครื่องมือทางสถิติที่ใช้ในงานวิจัยนี้ คือ แผนภูมิการกระจาย (scatter diagram) และแผนภูมิควบคุมผลรวมสะสม (cumulative sum control chart หรือ CUSUM control chart) ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า และปริมาณผลผลิตของโรงงานควบคุมตัวอย่างจำนวน 34 โรงงาน คือ มีจำนวนโรงงานที่มีผลประหยัดหรือมีความชันของแผนภูมิควบคุมสะสมเป็นลบทั้งสิ้น 21 โรงงาน คิดเป็นร้อยละ 61.76 ของจำนวนโรงงานตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์ และอีก 13 โรงงาน คิดเป็นร้อยละ 38.24 ที่มีความชันของแผนภูมิควบคุมสะสมเป็นบวกหรือไม่มีผลประหยัดพลังงาน ในจำนวน 21 โรงงานที่มีผลประหยัดมีร้อยละผลประหยัดเฉลี่ย 7.52 เมื่อพิจารณาเฉพาะโรงงานที่มีร้อยละผลประหยัดตั้งแต่ร้อยละ 5 ขึ้นไป พบว่ามาตรการอนุรักษ์พลังงานที่มีความถี่ในการจัดทำมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ 1) การกำหนดเวลาเปิด – ปิดที่เหมาะสม 2) การใช้สวิตช์ควบคุมการปิด – เปิด 3) บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ นอกจากแสดงให้เห็นถึงผลประหยัดจากการอนุรักษ์พลังงานแล้ว วิธีการในงานวิจัยนี้ยังสามารถใช้ในการกำหนดเป้าหมายในการอนุรักษ์พลังงานของโรงงานได้ด้วย การจัดการพลังงานที่ดี โดยการตรวจติดตามและกำหนดเป้าหมายการใช้พลังงานอย่างเหมาะสม เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถช่วยประหยัดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมได้en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this paper is to show how to apply statistic tools for monitoring energy used, represent energy savings from energy conservation plan and evaluate energy performance in designated factories. The statistic tools that used in this paper are scatter diagram and cumulative sum control chart (CUSUM control chart). After analyzed electric energy and production from 34 factories found that there are 21 factories or 61.76 percent that CUSUM control charts have negative slopes which mean they have energy-saving. The others 13 factories or 38.42 percent have positive slopes on CUSUM control charts which mean they lack energy-saving. The amounts of 21 factories that have energy-saving, have average percentage of savings 7.52. When considering specific factories that have percentage of saving five or more, there are three conservation plans mostly used 1) determination of proper opening – closing times 2) using switch to control opening – closing times 3) using electronic ballast with fluorescent lamp. More over, the approach in this paper also can be used for targeting energy use in designated factories. Good energy management by energy monitoring and targeting is one of techniques to reduce energy cost in factories.en
dc.format.extent5211550 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.200-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการอนุรักษ์พลังงาน -- การเฝ้าติดตามการทำงานen
dc.subjectอุตสาหกรรม -- การอนุรักษ์พลังงานen
dc.subjectอุตสาหกรรม -- การอนุรักษ์พลังงาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen
dc.titleการพัฒนาระบบตรวจติดตามผลการอนุรักษ์พลังงานจากมาตรการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานควบคุมen
dc.title.alternativeDevelopment of monitoring system for energy conservative savings in designated factoriesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorChaiya.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.200-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Benjawan_ni.pdf5.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.