Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3316
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุบล เบ็ญจรงค์กิจen_US
dc.contributor.authorสิทธิชัย เทวธีระรัตน์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-01-07T12:35:39Zen_US
dc.date.available2007-01-07T12:35:39Zen_US
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743468374en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3316en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractศึกษาการเปิดรับสารและทัศนคติจากการโฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อม ของกลุ่มคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร และศึกษาความคิดเห็นต่อภาพยนต์โฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อม โดยการวิจัยเชิงสำรวจใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างจำนวน 442 คน ประมวลผลโดยใช้โปรแกรม SPSS for WINDOWS ใช้สถิติการวิเคราะห์เชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย t-test และ ANOVA ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. การเปิดรับสารโฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อม ของกลุ่มคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า เพศหญิง มีการเปิดรับมากกว่าเพศชาย มีความแตกต่างในการเปิดรับสารระหว่างชุมชนเขตต่างๆ กลุ่มคนวัยทำงานมีระดับการเปิดรับสารในระดับกลาง ไม่มีความแตกต่างในการเปิดรับสารระหว่างกลุ่มอายุต่างๆ กลุ่มสถานภาพทางครอบครัวและกลุ่มระดับการศึกษา 2. เพศหญิง มีทัศนคติที่ดีต่อภาพยนตร์โฆษณา เพื่อสิ่งแวดล้อมทางโทรทัศน์มากกว่าเพศชาย มีความแตกต่างของทัศนคติต่อโฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อมระหว่างชุมชนเขตต่างๆ กลุ่มคนวัยทำงานมีทัศนคติต่อการโฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อมในส่วนของ ความรู้สึกมากกว่าด้านความรู้และการปฏิบัติ 3. ในการโฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อม กลุ่มคนวัยทำงานนิยมวิธีการนำเสนอแนวบวก มากกว่าวิธีนำเสนอแนวลบทั้งในด้านของการเปิดรับสาร ด้านอารมณ์ และด้านพฤติกรรมen_US
dc.description.abstractalternativeTo study working people's exposure attitude and their opinion toward green commercials on television. The survey research used questionnaire to collect data from 442 respondents. Descriptive statistics, t-test and ANOVA were used to analyse data. The results are 1. Women were exposed to green commercials more than men. There were statistical significant differences among dwellers of different city areas, working people exposed to green commercials at the moderate level, and no statistical differences were found among member of different age groups, family status, and educational levels. 2. Most women responded to green commercials more than men, there were significant differences among dwellers of different city areas. Working people responsed to the affective component of attitude more than the cognitive and conative component. 3. Positive approach of green commercials was accepted by respondents more than was the negative approach.en_US
dc.format.extent3023976 bytesen_US
dc.format.extent1843 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.format.mimetypetext/plain-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.343-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectโฆษณาทางโทรทัศน์en_US
dc.subjectการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมen_US
dc.titleการเปิดรับสารและทัศนคติของกลุ่มคนวัยทำงาน ต่อการโฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อมทางโทรทัศน์en_US
dc.title.alternativeWorking people's exposure and attitude toward green commercialsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการโฆษณาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYubol.B@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.343-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sittichai.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.