Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35228
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมรา พงศาพิชญ์
dc.contributor.authorเพียงจิต เทียนย้อย
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-08-14T09:24:49Z
dc.date.available2013-08-14T09:24:49Z
dc.date.issued2535
dc.identifier.isbn9745798738
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35228
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัจจัยการเปลี่ยนศาสนาของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง (สะกอ) จากเดิมที่มีการถือผีแล้วเปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธหรือศาสนาคริสต์ รวมทั้งศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายหลังการเปลี่ยนศาสนาและศึกษาถึงเอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงที่ยังคงอยู่ในท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น หมู่บ้านที่ศึกษา คือ หมู่บ้านแม่โต๋ หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อแก้ว อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นหมู่บ้านชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง (สะกอ) มีครัวเรือนทั้งหมด 47 หลังคาเรือน 69 ครอบครัว มีประชากร 292 คน นับถือศาสนาที่แตกต่างกัน มีทั้งนับถือศาสนาพุทธ ศาสนาพุทธควบคู่กับการถือผี และนับถือศาสนาคริสต์ วิธีการในการศึกษาใช้วิธีการทางมานุษยวิทยา โดยผู้ศึกษาเข้าไปอาศัยอยู่ในหมู่บ้านเป็นเวลา 6 เดือน เพื่อเข้าไปสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม พูดคุยกับชาวบ้านโดยไม่ใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์ ผู้รู้เฉพาะเรื่องแบบเจาะลึกเพื่อทำความความเข้าใจในกระบวนการเปลี่ยนศาสนา ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ทำให้ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงเปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธคือปัจจัยทางด้านการเมือง ปัจจัยทางด้านสังคม-จิตใจ ในขณะที่ปัจจัยที่ทำให้ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงเปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์ คือ ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านสังคม-จิตใจ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายหลังการเปลี่ยนศาสนาพบว่า การเปลี่ยนศาสนามีผลต่อการเปลี่ยนทางด้านความเชื่อ ประเพณีปฏิบัติ และวิถีชีวิตของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง แต่เอกลักษณ์ที่ยังคงอยู่ของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงในท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น คือ ความเป็นคนกะเหรี่ยงที่เรียกตนเองว่า “ปาเกอะญอ” ที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน พวกเขาจะมีความรักความสามัคคีช่วยเหลือกันและกัน
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis was (a) to identify factor leading to conversion to Christianity and Buddhism; (b) to study ethnic identity of Karens after the religious conversion and socio-cultural change. The study was carried out at Ban Mae To Village Mu 2, Tambol Bo-Kaew, Amphur Samoeng, in Chieng Mai Province. There are 47 households 69 families and 292 populations. The Karen in this village belong to different religious group, i.e., Buddhism, Buddhism with animism, Christianity. This study took 6 months for data collection. Antropological research techniques including participant observation and in-depth interview of key informants were applied. The study found that the factors leading to conversion of Animism to Buddhism; and Buddhism with Animism were political and socio-phychological ; and factors leading to religious conversion to Christainity were economic and socio-psychological. This study also found that Karen’s traditional belief and their traditional way of life have been changed after the religious conversion. The Karen who called themselves “Pakeayaw” maintained their ethnic identity based on their belief that all of them are descendents from the same Karen ancestors. Therefore, their love and cohesion, as well as their willingness to help each others continue to be practiced among Karen people.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกะเหรี่ยง
dc.subjectชาวเขา -- ความเป็นอยู่และประเพณี
dc.titleการเปลี่ยนศาสนาของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง (สะกอ) ในหมู่บ้านภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeReligious conversion among the sgaw karen in a northern village of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameมานุษยวิทยามหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piengchit_ti_front.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open
Piengchit_ti_ch1.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open
Piengchit_ti_ch2.pdf9.06 MBAdobe PDFView/Open
Piengchit_ti_ch3.pdf12.32 MBAdobe PDFView/Open
Piengchit_ti_ch4.pdf5.79 MBAdobe PDFView/Open
Piengchit_ti_ch5.pdf7.78 MBAdobe PDFView/Open
Piengchit_ti_ch6.pdf8.63 MBAdobe PDFView/Open
Piengchit_ti_ch7.pdf8.07 MBAdobe PDFView/Open
Piengchit_ti_back.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.