Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36629
Title: ระบบแนะนำความรู้สำหรับแผนกช่วยเหลือเทคโนโลยีสารสนเทศ
Other Titles: Knowledge recommendation system for IT help desk
Authors: อภิรักษ์ แซ่ด่าน
Advisors: ญาใจ ลิ่มปิยะกรณ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Yachai.L@chula.ac.th
Subjects: การค้นข้อสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ
Information retrieval
Information storage and retrieval systems
Issue Date: 2555
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ปัญหาของแผนกช่วยเหลือเทคโนโลยีสารสนเทศคือ การต้องเสียเวลาในการค้นหาวิธีแก้ไขและแก้ปัญหาทางด้านสารสนเทศเรื่องเดิมซ้ำๆ โดยหากเป็นองค์กรที่มีขนาดใหญ่ ปัญหาในการใช้งานระบบสารสนเทศก็ยิ่งมีหลายรูปแบบมากขึ้น ส่งผลต่อการทำงานของแผนกช่วยเหลือสารสนเทศทำให้มีความซับซ้อนตามไปด้วย งานวิจัยนี้จึงนำเสนอระบบแนะนำความรู้สำหรับแผนกช่วยเหลือที่นำเทคนิคการให้เหตุผลอิงกรณีหรือซีบีอาร์ มาทำงานร่วมกับข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานในองค์กร ได้แก่ ฐานข้อมูลการจัดการโครงแบบ และข้อมูลสิทธิการเข้าใช้ระบบงาน เพื่อค้นคืนความรู้แบบอัตโนมัติ ในการแก้ปัญหาด้านสารสนเทศในอดีตที่ตรงกับลักษณะของปัญหาปัจจุบัน ทำให้การแก้ปัญหาของแผนกช่วยเหลือเทคโนโลยีสารสนเทศมีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิผลในการบริหารจัดการความรู้ในการแก้ปัญหาสารสนเทศให้มีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
Other Abstract: One of the problems of IT Help Desk department is the waste of time for finding the solution and solving the same problems repeatedly. The larger the organizations are, the more variety of IT problems affect the more complicated operation of IT Help Desk. This research thus presents a Knowledge Recommendation System for IT Help Desk developed by using Case-Based Reasoning (CBR) technique, in association with the organization’s Information System Architecture namely Configuration Management Database and user authorization, to automate the retrieval of knowledge for assisting the IT problem resolution similar to the previous cases. The implemented system would enable IT Help Desk to solve the incidents and problems faster and more efficiently. Moreover, it would update and increase the effectiveness of knowledge management in the IT solutions.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมซอฟต์แวร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36629
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1535
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2012.1535
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
apirak_sa.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.