Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39547
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว-
dc.contributor.authorกิตติวินท์ เอี่ยมสำอางค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-02-25T02:55:30Z-
dc.date.available2014-02-25T02:55:30Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39547-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทดลองถ่ายภาพด้วยรังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีที่นิยมใช้ในการถ่ายภาพด้วยรังสีในงานอุตสาหกรรม 2 ชนิด คือ ซีลีเนียม-75 และอิริเดียม-192 โดยใช้ระบบรับภาพที่พัฒนาขึ้นซึ่งประกอบด้วยฉากเรืองรังสีชนิดใหม่ Kyokko PI200 ทำหน้าที่เปลี่ยนความเข้มรังสีแกมมาที่ทะลุผ่านชิ้นงานไปเป็นแสงและใช้กล้องถ่ายภาพดิจิตอลดูภาพบนฉากเรืองรังสี กล้องดิจิตอลนี้เชื่อมต่อกับไมโครคอมพิวเตอร์ผ่านทางพอร์ตยูเอสบีเพื่อให้ผู้ใช้สามารถควบคุมและตั้งค่าต่าง ๆ ของกล้องได้ รวมทั้งสามารถดูภาพถ่ายและบันทึกภาพถ่ายด้วย จากการทดสอบกับต้นกำเนิดรังสีซีลีเนียม-75 ที่มีความแรงรังสี 69 คูรีและอิริเดียม-192 ที่มีความแรงรังสีประมาณ 8 และ 50 คูรี พบว่าสามารถใช้ในการถ่ายภาพชิ้นงานชนิดต่าง ๆ ได้โดยใช้เวลาในช่วง 5 – 100 วินาที แต่คุณภาพของภาพไม่ดีพอที่จะใช้ในการตรวจสอบรอยบกพร่องขนาดเล็กในชิ้นงาน อย่างไรก็ตามพบว่าสามารถใช้ในการตรวจหาวัตถุแปลกปลอมและซ่อนเร้นภายในท่อ กล่องพัสดุ และแท่งคอนกรีตได้อย่างน่าพอใจ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าระบบดังกล่าวสามารถนำไปใช้ในการตรวจสอบเพื่อความมั่นคงและความปลอดภัยได้โดยไม่ต้องพึ่งกระแสไฟฟ้าเหมือนกับการใช้หลอดรังสีเอกซ์en_US
dc.description.abstractalternativeIn this research, gamma radiography was experimentally investigated using gamma-ray sources including Se-75 and Ir-192 commonly used in industrial radiography. An image viewing system was developed composing of a newly available Kyokko PI200 fluorescent screen to transform transmitted gamma-ray intensity to light and a digital camera to view the image on the fluorescent screen. The digital camera was connected to a microcomputer via a USB port allowing the user to control and select the camera settings as well as to view and save the image. The system was tested with a 69 Ci Se-75, a 8 Ci Ir-192 and a 50 Ci Ir-192 sources with the exposure times in the range of 5 -100 seconds but the image quality was not good enough to reveal small defects within the test specimens such as cracks and porosity. However, it could be satisfactorily used to inspect steel pipe, parcel and concrete column for foreign materials and hidden objects. The results indicated that such a system could be employed for safety and security purpose with no need for electrical supply as needed for x-ray tube.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1193-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการถ่ายภาพen_US
dc.subjectกล้องถ่ายรูปดิจิตอลen_US
dc.subjectรังสีแกมมาen_US
dc.subjectPhotographyen_US
dc.subjectDigital camerasen_US
dc.subjectGamma raysen_US
dc.titleการพัฒนาระบบถ่ายภาพด้วยรังสีแกมมาจากอิริเดียม-192 โดยใช้ฉากเรืองรังสีชนิด PI-200 ร่วมกับกล้องถ่ายภาพดิจิตอลen_US
dc.title.alternativeDevelopment of an iridium-192 gamma radiography system using pi-200 fluorescent screen coupled with digital cameraen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNares.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1193-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kittiwin_ie.pdf4.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.