Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42437
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจิดศักดิ์ ไชยคุนา-
dc.contributor.authorกมลศักดิ์ เศวตโฆษิต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-06-23T08:34:28Z-
dc.date.available2015-06-23T08:34:28Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42437-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ทำเพื่อศึกษาปรากฏการณ์การแยกอิมัลชัน (Demulsification) ของน้ำมันไบโอดีเซลในน้ำโดยการใช้ตัวกลางที่มีลักษณะเป็นเส้นใย วัสดุที่สนใจศึกษาคือ ไนลอน (Nylon) และ พอลิโพรพิลีน (Polypropylene) เนื่องจากอิมัลชันของน้ำมันในน้ำมีเสถียรภาพสูง การแยกน้ำมันออกจากน้ำจึงทำได้ค่อนข้างยาก ทำการทดลองโดยการป้อนอิมัลชันของน้ำมันไบโอดีเซลในน้ำไหลเข้าหอแยกแนวตั้งที่บรรจุตัวกลางชนิดเส้นใยที่มีความหนาแน่น 1x10-4 กรัมต่อลูกบากศ์มิลลิเมตร ที่อุณหภูมิของอิมัลชัน 60 องศาเซลเซียล ความสูงของหอแยก 400, 800 และ 1,200 มิลลิเมตร และความเร็วของการไหลที่ 0.95, 2.30 และ 4.85 มิลลิเมตรต่อวินาที จากผลการศึกษาพบว่า การแยกอิมัลชันไบโอดีเซลในน้ำโดยใช้ตัวกลางชนิดเส้นใยไนลอน สามารถแยกน้ำมันไบโอดีเซลได้ร้อยละ 5.13 ถึงร้อยละ 11.65 โดยน้ำหนัก และ ตัวกลางชนิดเส้นใยพอลิโพรพิลีน สามารถแยกน้ำมันไบโอดีเซลได้ร้อยละ 12.61 ถึงร้อยละ 30.40 โดยน้ำหนัก วัสดุที่ให้ทำตัวกลางที่มีพลังงานพื้นผิว(Surface energy) ต่ำจะส่งผลให้ความสามารถในการแยกเพิ่มขึ้น และที่ความสูงของหอเพิ่มขึ้นจะส่งผลให้ความสามารถในการแยกเพิ่มขึ้น และเมื่อความเร็วของการไหลเพิ่มขึ้นจะส่งผลให้ความสามารถในการแยกเพิ่มขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThis research studied demulsification method of biodiesel in water emulsion by coalesces media fiber. The media used in this study were nylon and polypropylene. As emulsion of oil in water have high stability, it is difficult to remove oil from water. The experiment was conducted by feed biodiesel in water emulsion into vertical column containing nylon or polypropylene fiber with density of 1x10-4 g/mm3. Studied condition at a temperature of 60 degree celsius with column height of 400, 800 and 1,200 mm, and flow velocity at 0.95, 2.30 and 4.85 millimeter per second. From the result, it was found that demulsification of biodiesel in water emulsion using nylon fiber can separate biodiesel from water, ranging from 5.13% to 11.65% by weight. While polypropylene fiber can separate biodiesel from water, ranging from 12.61% to 30.40% by weight. The properties of the media including wetting ability and surface energy are factors affecting demulsification rate. In addition, the demulsification rate increased when numbers of flow velocity and height of the column increased.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1029-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเชื้อเพลิงไบโอดีเซลen_US
dc.subjectเส้นใยโพลิโพรพิลีนen_US
dc.subjectไนลอนen_US
dc.subjectBiodiesel fuelsen_US
dc.subjectPolypropylene fibersen_US
dc.subjectNylonen_US
dc.titleการทำลายความเป็นอิมัลชันของน้ำมันไบโอดีเซลในน้ำโดยอาศัยตัวกลางแบบเส้นใยไนลอนและเส้นใยพอลิโพรพิลีนen_US
dc.title.alternativeDemulsification of biodiesel in water emulsion using nylon and polypropylene fibersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJirdsak.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1029-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kamolsak_sa.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.