Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46876
Title: ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผลของบริษัท
Other Titles: Legal problems on dividend distribution of a company
Authors: สุริยนตร์ โสตถิทัต
Advisors: พิเศษ เสตเสถียร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: เงินปันผล -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
ผู้ถือหุ้น
บริษัท -- การเงิน
กฎหมายบริษัท
ญี่ปุ่น
สหรัฐอเมริกา
อังกฤษ
Issue Date: 2535
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การจ่ายเงินปันผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญต่อทั้งผู้ถือหุ้น บริษัทและเจ้าหนี้ โดยในด้านผู้ถือหุ้นนั้น ถือว่าเงินปันผลเป็นสิทธิพื้นฐานที่สำคัญประการหนึ่งของผู้ถือหุ้น ส่วนในด้านบริษัท การจ่ายเงินปันผล จะมีผลทำให้กำไรซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนภายในของบริษัทลดน้อยลง และสำหรับเจ้าหนี้ การจ่ายเงิน ปันผลที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายย่อมมีผลทำให้ทุนของบริษัทอันเป็นหลักประกันของเจ้าหนี้เสียหายหรือลดลงด้วย เพื่อคุ้มครองผลประโยชน์ของบุคคลทั้งสามฝ่ายดังกล่าว กฎหมายจึงได้วางหลักเกณฑ์และวิธีการต่าง ๆ เพื่อธำรงรักษาทุนของบริษัทไว้ เนื่องจากตามหลักกฎหมายบริษัทของไทยที่เกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผลยังมีความไม่ชัดเจนของ ถ้อยคำตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย เช่น ความไม่ชัดเจนของความหมายและลักษณะของเงินกำไรและทุน สำรองตามกฎหมาย เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีได้ปัญญัติถึงหลักเกณฑ์บางประการที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายเงิน ปันผล ดังนั้น จึงทำให้เกิดปัญหาในการใช้และตีความกฎหมายดังกล่าวอยู่เสมอ ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้เขียนจึงได้มุ่งศึกษาถึงปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผลไว้ 4 หัวข้อ ได้แก่ แหล่งที่มาของเงินปันผล ทุนสำรอง การประกาศจ่ายเงินปันผล และการจ่ายเงินปันผล โดยฝ่าฝืนกฎหมายวิทยานิพนธ์นี้ได้เสนอแนะแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นดังนี้ ในการตีความและใช้กฎหมายควรคำนึงถึงเจตนารมณ์และทฤษฎีกฎหมายของบทบัญญัติ กฎหมายนั้นเป็นสำคัญในกรณีมีปัญหากฎหมายที่มีความเกี่ยวโยงถึงกฎหมายลักษณะอื่น ๆ ก็อาจนำหลักกฎหมาย ในเรื่องนั้น มาช่วยในการพิจารณาและปรับใช้เพี่อแก้ไขปัญหาด้วย
Other Abstract: Dividend distribution is important to both the shareholders and the company itself as well as its creditors. For the shareholders, dividend is one of the fundamental rights of the holder of share; for the company, dividend distribution would result in reduction of profit which is the main sources of internal cash flow of the company; and for its creditors, unlawful distribution of dividend would cause the company's equity which is deemed as part of security to be decreased or impaired. Therefore, in order to protect all such parties' interest, the laws have prescribed the rules and methods to maintain the company's equity capital. Some provisions of Thai laws concerning dividend distribution are not clear, such as the definition and description of profit and legal reserves, and some required provisions concerning dividend distribution are lacking. Consequently, problems always arise in applying and interpreting the relevant laws. This thesis will study on legal problems concerning of dividend distribution emphasizing on 4 subjects namely source of dividend, legal reserves, declaration of dividend and distribution of dividend against the law. In order to solve the problems mentioned above, the following suggestions are therefore proposed: 1.In interpreting or applying any laws, it is essential to consider and have respect for the objectives and legal theory of such laws. 2.In case the problem relates to any other provisions of laws, such other provisions should be taken into account and applied in solving such problem.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535
Degree Name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46876
ISBN: 9745815233
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suriyont_so_front.pdf5.55 MBAdobe PDFView/Open
Suriyont_so_ch1.pdf11.43 MBAdobe PDFView/Open
Suriyont_so_ch2.pdf5.04 MBAdobe PDFView/Open
Suriyont_so_ch3.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open
Suriyont_so_ch4.pdf4.65 MBAdobe PDFView/Open
Suriyont_so_ch5.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open
Suriyont_so_back.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.