Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46881
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPanitan Lukkunaprasit-
dc.contributor.advisorSutham Suriyamongkol-
dc.contributor.advisorThaksin Thepchatri-
dc.contributor.authorSuriya Thusneeyanont-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2015-11-02T03:44:12Z-
dc.date.available2015-11-02T03:44:12Z-
dc.date.issued1990-
dc.identifier.isbn9745784346-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46881-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractThe schemes for solving soil-structure interaction problems by means of simplified two- dimensional plane strain models are examined. For foundation without pile, the simplified three-dimensional model proposed by Hwang, Lysmer and Berger is first shown to be ineffective in representing the three-dimensional behavior for the case of concentrated loads. Modification of the model proposed by Hwang et al. is achieved by attaching side springs and dashpots to the plane strain slice together with the adjustment of mass and damping to reproduce three-dimensional effects. The concept underlying the formulation is to force the potential energy, the kinetic energy and the dissipation energy of the proposed model to be equivalent with those of the three-dimensional continuum.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้เสนอวิธีการวิเคราะห์ปัญหาปฏิกิริยาประกอบร่วมดิน-โครงสร้าง ด้วยแบบจำลองชนิดความ เครียดในระนาบสองมิติอย่างง่าย สำหรับฐานรากชนิดไม่มีเสาเข็มพบว่าแบบจำลองชนิดสามมิติอย่างง่ายของ Hwang, Lysmer และ Berger ให้ผลลัพธ์ที่ไม่ดีนักในกรณีของแรงกระทำเป็นจุดบนฐานราก การปรับปรุง แบบจำลองของ Hwang และผู้ร่วมงานกระทำได้โดยการใส่สปริงและตัวหน่วงเข้าไปที่ด้านข้างของแบบจำลองชนิด ความเครียดในระนาบร่วมกับการปรับมวลและความหน่วง เพื่อที่จะทำให้เกิดผลของลักษณะสามมิติ แนวความคิด ที่ใช้การกำหนดหลักเกณฑ์คือ การบังคับให้พลังงานศักย์ พลังงานจลน์และการสูญเสียพลังงานโดยการกระจาย ของแบบจำลองที่นำเสนอ มีค่าเทียบเท่ากับค่าที่เกิดขึ้นในมวลดินสามมิติ สำหรับฐานรากชนิดมิเสาเข็ม งานวิจัยนี้นำเสนอชิ้นส่วนดิน-เสาเข็มอย่างง่ายเพื่อศึกษาผลที่เกิดจาก เสาเข็ม พิจารณาว่าเสาเข็มนั้นเสมือนเป็นคานแทรกตัวอยู่ในชิ้นส่วนของมวลดินที่ห่อหุ้มเสาเข็ม ทำให้ไม่ต้อง เพิ่มจุดข้อต่อเฉพาะขึ้นสำหรับเสาเข็มอีกแต่อย่างใด จากสมมุติฐานที่ว่าผิวสัมผัสของดินกับเสาเข็มยึดติดกันแน่น ไม่เคลื่อนตัวแยกจากกัน ทำให้สามารถเขียนรูปแบบของการเคลื่อนที่ของเสาเข็มในเทอมของการเคลื่อนที่ของจุดข้อต่อของชิ้นส่วนมวลดินที่ห่อหุ้มเสาเข็มได้ และโดยใช้วิธีการไฟไนท์เอเลเมนต์มาตรฐานจะหาสติฟเนสของ เสาเข็มได้โดยง่ายen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectStrains and stressesen_US
dc.subjectStructural analysis (Engineering)en_US
dc.subjectPiling (Civil engineering)en_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.subjectความเครียดและความเค้นen_US
dc.subjectการวิเคราะห์โครงสร้าง (วิศวกรรมศาสตร์)en_US
dc.subjectเสาเข็มen_US
dc.titlePlane strain model for soil-structure interaction analysisen_US
dc.title.alternativeแบบจำลองชนิดความเครียดในระนาบสำหรับการวิเคราะห์ปฏิกิริยาร่วม ของดิน-โครงสร้างen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Engineeringen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineCivil Engineeringen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorPanitan.L@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.advisorThaksin.T@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suriya_th_front.pdf5.21 MBAdobe PDFView/Open
Suriya_th_ch1.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open
Suriya_th_ch2.pdf6.18 MBAdobe PDFView/Open
Suriya_th_ch3.pdf4.93 MBAdobe PDFView/Open
Suriya_th_ch4.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open
Suriya_th_ch5.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open
Suriya_th_ch6.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Suriya_th_back.pdf8.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.