Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประชุมสุข อาชวอำรุง-
dc.contributor.authorวัลยา ชาญโกเวทย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T07:48:11Z-
dc.date.available2016-06-08T07:48:11Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745647642-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48318-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en_US
dc.description.abstractในการเปรียบเทียบการตอบสนองต่อสิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจระหว่างสตรีนักวิชาชีพ และสตรีนักธุรกิจ ที่สมรสแล้วนั้น ได้ใช้ตัวอย่างประชากรสุ่มจากสตรีนักวิชาชีพที่สมรสแล้ว และสตรีนักธุรกิจที่สมรสแล้ว กลุ่มละ 90 คน จำแนกออกเป็น 3 รุ่น เพื่อให้ประชากรกระจายทุกวัย คือรุ่นที่ 1 รุ่นที่ 2 และรุ่นที่ 3 ผู้วิจัยวัดการตอบสนองต่อสิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจ โดยใช้แบบสัมภาษณ์อย่างมีเค้าโครง ซึ่งประชุมสุข อาชวอำรุง สร้างขึ้นประกอบด้วยเนื้อเรื่อง 3 ส่วน คือ 1) การหาผลกำไรสูงสุดอย่างสมเหตุสมผล 2) ความปรารถนาในการเลือกออม และ 3) ความปรารถนาที่จะเลือกลงทุนในกิจการอุตสาหกรรมหนักแล้วตรวจสอบความมีนัยสำคัญของความแตกต่างของคะแนนการตอบสนองต่อสิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจ ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบมีตัวประกอบ 2 x 3 (การงานและรุ่น) และตรวจสอบค่าเฉลี่ยที่แตกต่างกัน ด้วยวิธีของดันแคน ได้ข้อค้นพบที่สำคัญว่า สตรีนักวิชาชีพมีการตอบสนองต่อสิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจต่ำกว่าสตรีนักธุรกิจen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the responsiveness to economic incentives between Professional and Business Women. A sample of 90 married Women was selected from each calling which consisted of three generations. Structured interview schedules constructed by Prachoomsuk Achava-Amrung which covered 3 characteristics: (1) rational profit maximization, (2) saving preferences, and (3) preference to invest in heavy industries were employed. Data were then analyzed by an analysis of variance 2 x 3 factorial design, and differences between means were tested with Duncan's New Multiple Range Test. The results indicated that the responsiveness to economic incentives of Professional Women was significantly lower than that of Business Women.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสตรี -- ไทยen_US
dc.subjectสตรีในธุรกิจen_US
dc.subjectoccupationsen_US
dc.subjectsocietyen_US
dc.titleการเปรียบเทียบการตอบสนองต่อสิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจ ระหว่างสตรีนักวิชาชีพและสตรีนักธุรกิจen_US
dc.title.alternativeComparisons of responsiveness to economic incentives between professional and business womenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Valaya_ch_front.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open
Valaya_ch_ch1.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
Valaya_ch_ch2.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open
Valaya_ch_ch3.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open
Valaya_ch_ch4.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open
Valaya_ch_ch5.pdf602.25 kBAdobe PDFView/Open
Valaya_ch_back.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.