Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52204
Title: Financial Analysis of Cooling Conservation Method for Long-Term Paddy Storage in Thailand
Other Titles: การวิเคราะห์ทางการเงินของการเก็บรักษาข้าวเปลือกในระยะยาวในประเทศไทยด้วยวิธีการใช้ความเย็น
Authors: Chakaphan Chitsuthipakorn
Advisors: Jeerapat Ngaoprasertwong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Jeerapat.N@Chula.ac.th,Jeirapat.N@Chula.ac.th,knotnat@hotmail.com
Subjects: ข้าวเปลือก -- การเก็บและรักษา
Rice -- Preservation
Issue Date: 2016
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The objective of this dissertation is to analyse costs and benefits of using cooling conservation method for long-term paddy storage in Thailand. The main problem of paddy storage is deteriorate paddy and rice during storage period. So, cooling conservation method is a ventilation method that can control temperature and moisture content of paddy during storage to reduce losses and avoid deteriorate paddy. This research collected all the benefits and costs both tangible and intangible and compared to existing method. The scope of this study is focus on 2 transformation options which are transform from circulation method to cooling conservation method and transform from industrial fan method to cooling conservation method. This research used cost benefit analysis and payback period analysis to analyse all the collected data from surveying. It also shows calculation of all tangible data. Moreover, payback period calculation sheet is also an outcome of this research for put own data and get the result. This research will be a tool that helps to make a decision to transform from the existing ventilation method to cooling conservation method which will make a lot of benefits for paddy storage and make a better quality of rice which leads to higher selling price of paddy. This will be the method that enhances the perspective of paddy and rice market for Thailand and for the world.
Other Abstract: งานวิจัยชิ้นนี้ จัดทำขึ้นเพื่อ วิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินของการเก็บรักษาข้าวเปลือกในระยะยาวในประเทศไทย ด้วยวิธีการใช้ความเย็น โดยมีปัญหาหลักที่เกิดขึ้นในกระบวนการจัดเก็บข้าว นั่นคือ ข้าวเกิดความเสื่อมสภาพ และ เสียหาย ในช่วงเวลาการเก็บรักษา โดยมีสาเหตุมาจาก มอด แมลงชนิดต่างๆ รวมถึงเชื้อรา ที่สามารถเกิดขึ้นและเพิ่มจำนวนมากขึ้น การเก็บรักษาด้วยวิธีการใช้ความเย็น จะสามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ในการเก็บรักษาข้าวเปลือกได้ และ ทำให้ความเสียหายที่เกิดขึ้น ลดจำนวนและมูลค่าลงได้อย่างมีนัยสำคัญ งานวิจัยนี้ จะรวบรวมประโยชน์ที่จะได้รับจากการจัดเก็บด้วยวิธีนี้ รวมถึง ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจาการใช้เครื่องทำลมเย็น โดยมีขอบเขตในการคำนวน 2 กรณี คือ การเปลี่ยนจากการจัดเก็บด้วยวิธีวนข้าวเพื่อระบายความร้อน มาเป็นการเก็บด้วยวิธีการใช้เครื่องทำลมเย็น และ การเปลี่ยนจากการจัดเก็บด้วยวิธีการใช้พัดลมระบายความร้อน มาเป็นการเก็บด้วยวิธีการใช้เครื่องทำลมเย็น ในการวิจัยนี้ กระบวนการวิเคราะห์ได้ถูกนำมาใช้และศึกษา และคัดเลือกประโยชน์ที่ได้รับ และ ค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้น จากการเก็บรักษาข้าวเปลือกด้วยวิธีการใช้ความเย็น โดยมีทั้งแบบที่ประเมินออกมาเป็นมูลค่าได้ และ แบบที่ไม่สามารถประเมินได้ และยังได้แสดงตัวอย่างการคำนวณประโยชน์และค่าใช้จ่ายที่สามารถประเมิณเป็นมูลค่าได้ รวมถึงคำนวณ ระยะเวลาคืนทุน ของการลงทุนเปลี่ยนระบบมาเก็บด้วยวิธีการใช้ความเย็น ยิ่งไปกว่านั้น ยังได้มีการรวบรวมข้อมูลทั้งหมด จัดทำแบบฟอร์มที่จะคำนวณ ผลประโยชน์ ค่าใช้จ่าย และระยะเวลาคืนทุน ซึ่งสามารถให้ผู้ใช้ได้ใส่ข้อมูลของตนเองลงไป เพื่อจะได้ทราบผลลัพธ์ที่ออกมาตรงตามความต้องการอย่างแท้จริง งานวิจัยนี้จะช่วยในการให้ความรู้ต่างๆ ของระบบการเก็บรักษาด้วยวิธีการใช้ความเย็น รวมถึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจที่จะเปลี่ยนระบบมาใช้เป็นระบบนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุดที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้ใช้ รวมถึง ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับธุรกิจข้าวในประเทศไทย เพื่อเพิ่มคุณภาพ และ ลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้น
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2016
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Engineering Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52204
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1524
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2016.1524
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5671235821.pdf3.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.