Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53511
Title: | Biofuel production from palm oil by using microemulsion technique |
Other Titles: | การผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลจากน้ำมันปาล์มโดยใช้เทคนิคไมโครอีมัลชัน |
Authors: | Jutatip Ploysrimongkol |
Advisors: | Chantra Tongcumpou |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | Chantra.T@Chula.ac.th |
Subjects: | Biodiesel fuels Biomass energy Palm oil เชื้อเพลิงไบโอดีเซล พลังงานชีวมวล น้ำมันปาล์ม |
Issue Date: | 2007 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Biofuel is becoming more attractive because of the rising crude oil price and its environmental benefits from its renewability and less greenhouse pollutants generation. Microemulsion is a system of homogeneous phase combining of oil, water, surfactant and cosurfactant. In biodiesel preparation, microemulsion occurs by facilitating fatty acids, a major component of vegetable oils, to cooperate with the surfactant and cosurfactant and very small amount of water to form a transparent homogeneous phase called microemulsion fuel. This technique is simple and low energy needed for the process. In addition, there is no by-product generated. The microemulsion biofuel from this study was called MB100, which contained a cosurfactant, a nonionic surfactant, water, and palm oil. To obtain the composition for MB100 for further study on properties and performance, ternary phase diagrams were prepared in order to obtain the suitable ratio of microemulsion biofuel. In the phase study, the results show that a cosurfactant/surfactant ratio or C/S ratio of 0.5 produced a larger area of homogeneous transparent solution in ternary phase diagram. Using this ratio, a fuel composition of 95% palm oil, 4.95% C/S at a ratio of 0.5, and 0.05% water by weight was able to produce homogeneous solution microemulsion biofuel. At this composition, the product was selected for properties and performance study. Besides MB100, two fuel blends of MB100 and diesel at ratios of 20:80 and 5:95, called MB20 and MB5 were also evaluated. The fuel properties were tested following the ASTM method for their performance and their exhaust emissions of the three types of microemulsion biofuel were also determined. The fuel properties tests revealed that the microemulsion biofuels (i.e., MB100, MB20 and MB5) could meet petroleum diesel and biodiesel property standards. For fuel performance tests and exhaust emission measurements, the results showed that the microemulsion biofuels were performed similar to those of conventional diesel fuel and produced less exhaust emissions as compared to petroleum diesel. In addition to those evaluations, our products MB100, MB20 and MB5 were also found to be able to maintain their stability in the temperature range of 20-70°C. |
Other Abstract: | ปัจจุบันน้ำมันไบโอดีเซลได้รับความสนใจอย่างมากเพื่อนำมาใช้เป็นพลังงานทดแทนเนื่องจากราคาน้ำมันปิโตรเลียมที่สูงขึ้น นอกจากนี้น้ำมันไบโอดีเซลยังมีข้อดีจากการช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมอันเนื่องจากปลดปล่อยไอเสียจากการเผาไหม้น้อยกว่าน้ำมันปิโตรเลียม ขบวนการผลิตน้ำมันหรือเชื้อเพลิงจากน้ำมันพืช มีหลายวิธีการ ไมโครอีมัลชันเป็นวิธีการหนึ่ง โดยไมโครอีมัลชันคือระบบของการผสมสารละลายต่างวัฎภาคให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยใช้สารลดแรงตึงผิว และแอลกอฮอล์ทำหน้าที่เป็นตัวประสานการละลายระหว่างน้ำมันและน้ำ วิธีไมโครอีมัลชันนี้นับว่าเป็นวิธีที่ง่ายในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซล ใช้พลังงานน้อยมาก และไม่เกิดผลผลิตพลอยได้หลังจากกระบวนการผลิต ดังนั้นการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้นำเทคนิคไมโครอีมัลชันมาใช้เพื่อการผลิตเชื้อเพลิงชีวมวล ซึ่งประกอบ ด้วยน้ำมันพืชปาล์ม สารลดแรงตึงผิวชนิดไม่มีประจุ เอทานอลแอลกอฮอล์ และน้ำ ซึ่งเรียกว่า MB100 และเพื่อให้ได้ MB100 ซึ่งมีอัตราส่วนที่เหมาะสมขององค์ประกอบต่างๆ เพื่อนำไปศึกษาคุณสมบัติและประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนในขั้นตอนต่อไป จำเป็นต้องมีการศึกษาวัฏภาคของสามองค์ประกอบในแผนภูมิสามเหลี่ยม (Ternary Diagram) ซึ่งผลการศึกษาวัฏภาคพบว่า อัตราส่วนระหว่างแอลกอฮอล์ต่อสารลดแรงตึงผิวที่ 0.5 โดยน้ำหนัก นั้น ให้พื้นที่ของการเกิดสารละลายเนื้อเดียวกันมากที่สุด และส่วนผสมของน้ำมันไมโครอีมัลชันไบโอฟูเอลที่ประกอบด้วยน้ำมันปาล์ม 95 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก สารลดแรงตึงผิวต่อแอลกอฮอล์ที่อัตราส่วน 0.5 ในปริมาณ 4.95 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก และน้ำ 0.05 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก เป็นส่วนผสมที่เกิดเป็นสารละลายเนื้อเดียวกัน และน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมดังกล่าวจะเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงที่เรียกว่า ไมโครอีมัลชันไบโอฟูเอล หรือMB100 และเป็นน้ำมันเชื้อเพลิง ที่นำมาศึกษาคุณสมบัติและประสิทธิภาพในขั้นตอนต่อไป นอกจาก MB100 แล้ว การศึกษาครั้งนี้ยังได้เตรียมน้ำมันผสมระหว่าง MB 100 กับปิโตรเลียมดีเซลที่อัตราส่วน 20:80 และ 5:95 เรียกว่า MB20 และ MB5 ตามลำดับ และนำมาศึกษาถึงคุณสมบัติตามมาตรฐาน ASTM ประสิทธิภาพและการปล่อยสารมลพิษ ด้วยเช่นกัน ผลการทดสอบในเรื่องของคุณสมบัติพบว่า น้ำมันไมโครอีมัลชันไบโอฟูเอลทั้ง 3 ชนิด (MB100, MB20 และ MB5) มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับปิโตรเลียมดีเซลและทรานเอสเตอร์ริฟิเคชันไบโอดีเซล ผลการทดสอบเรื่องประสิทธิภาพและการปล่อยสารมลพิษพบว่า น้ำมันไมโครอีมัลชันไบโอฟูเอลทั้ง 3 ชนิด มีประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนใกล้เคียงกับปิโตรเลียมดีเซล และปล่อยสารมลพิษน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับปิโตรเลียมดีเซล นอกจากนี้ การศึกษาครั้งนี้ยังพบว่าน้ำมันไมโครอีมัลชันไบโอฟูเอล MB100 MB20 และ MB5 มีความเสถียรต่อการเปลี่ยนแปลงต่ออุณหภูมิระหว่าง 20-70 องศาเซลเซียส |
Description: | Thesis (M.Sc)--Chulalongkorn University, 2007 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Environmental Management (Inter-Department) |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53511 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
jutatip_pl_front.pdf | 1.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
jutatip_pl_ch1.pdf | 588.06 kB | Adobe PDF | View/Open | |
jutatip_pl_ch2.pdf | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
jutatip_pl_ch3.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
jutatip_pl_ch4.pdf | 3.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
jutatip_pl_ch5.pdf | 341.2 kB | Adobe PDF | View/Open | |
jutatip_pl_back.pdf | 12.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.