Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6001
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสวัสดิ์ชัย เกรียงไกรเพชร-
dc.contributor.authorวรชาติ สุวรรณวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-26T05:54:46Z-
dc.date.available2008-02-26T05:54:46Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741735669-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6001-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractศึกษาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรเชิงสัมผัสสำหรับแผนที่ภาพนูน รวมถึงการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสมสำหรับแผนที่ภาพนูน อันจะเป็นประโยชน์ในการออกแบบและสร้างแผนที่สำหรับคนตาบอด เรื่องที่ศึกษาในงานวิจัยนี้ครอบคลุมถึงการหาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรเชิงสัมผัสกับระดับการรับรู้ การหามิติที่เล็กที่สุดของสัญลักษณ์ภาพนูนที่สามารถใช้งานได้ และขนาดที่เหมาะสมในการใช้งานจริง และการหาจำนวนทิศทางการหันเหของสัญลักษณ์ภาพนูน ที่คนตาบอดสามารถแยกแยะความแตกต่างได้ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยการทดลองและสัมภาษณ์คนตาบอดจำนวนหนึ่ง เครื่องมือหลักที่ใช้ในการทดลองเป็นสัญลักษณ์แผนที่ภาพนูน ซึ่งได้จากกระบวนการผลิตชนิดสเวล เปเปอร์ ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้ของคนตาบอด จากการสัมผัสสัญลักษณ์แผนที่ภาพนูนต่อตัวแปรตำแหน่ง ทิศทาง ลวดลาย และขนาด มีผลคล้ายคลึงกับการรับรู้ของคนตาดี ที่ใช้สายตามองดูแผนที่สำหรับคนตาปกติ ส่วนที่แตกต่างกันคือตัวแปรรูปร่างและความเข้มอ่อน ซึ่งคนตาบอดสามารถรับรู้ได้ถึงระดับที่สามารถแยกแยะคัดสรรได้ดีถึงดีมาก ในส่วนของการศึกษาเรื่องมิติของสัญลักษณ์แผนที่ภาพนูนของคนตาบอด ได้ผลลัพธ์เป็นตัวเลขของมิติที่เล็กที่สุด และที่เหมาะสมในการใช้งานจริง ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ทำให้เราได้กฎเกณฑ์พื้นฐาน ในการออกแบบสัญลักษณ์แผนที่ภาพนูน อันจะเป็นประโยชน์ในการทำแผนที่สำหรับคนตาบอดให้ได้ผลดีต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo determine the perception properties of tactile variables and to design symbols for tactile maps. The study cover the determination of relationship between tactile variables and perception properties, the determination of minimum symbol sizes that can be identified correctly and the appropriate sizes that should be used in the design and construction of tactile maps for the blind people. The method employed in this study was a survey research comprising experimenting and interviewing a group of blind people. The tool used in the experiment was specially designed tactile graphics made at the Thai National Institute of the Blind using swell paper method. The results of the study show that the perception properties of the blind people on the tactile graphics are similar to the perception of normal people on visual graphics for almost all variables. Only the form and value variables yielded different result, in this case, the blind people{174}s perception reaches the selective level. The study on the dimensions of tactile graphics has resulted in a set of minimum sizes of map symbols that can be identified correctly and also a set of appropriate sizes of the symbols that can be use effectively. Results of these studies provide useful guideline and specifications for the design and construction of appropriate tactile maps and graphics for the v impaired people.en
dc.format.extent2346471 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแผนที่en
dc.subjectการทำแผนที่en
dc.subjectคนตาบอดen
dc.subjectแผนที่สำหรับคนตาบอดen
dc.titleการหาคุณสมบัติการรับรู้ของตัวแปรชิงสัมผัสและการออกแบบสัญลักษณ์ที่เหมาะสม สำหรับแผนที่ภาพนูนของคนตาบอดen
dc.title.alternativeDetermination of perception properties of tactile variables and design of appropriate symbols for tactile mapsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSwatchai.K@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Worachart.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.