Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60532
Title: Preparation of micropore or mesopore on 3d interconnected macroporous carbon monoliths by physical and chemical activation
Other Titles: การเตรียมรูพรุนแบบไมโครพอร์หรือมีโซพอร์บนโครงสร้างคาร์บอนมอนอลิธที่มีรูพรุนแบบแมคโครพอร์ที่เชื่อมต่อ 3 มิติ ด้วยการกระตุ้นทางกายภาพและทางเคมี
Authors: Patompong Maneeprom
Advisors: Tawatchai Charinpanitkul
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Tawatchai.C@Chula.ac.th
Subjects: Carbon
Catalysts
คาร์บอน
ตัวเร่งปฏิกิริยา
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The hierarchical pores structure with tri – modal pores structure (micropore – mesopore – macropore) has provided RF carbon high potential as a good candidate for various applications such as HPLC column and catalyst support. The mesopore has high contribution for these applications. Moreover, the macropore in the obtained hierarchical pores structure allows the fluid to flow through structure. The hierarchical pores structure is successfully prepared in this study. The impregnation of calcium into interconnected macroporous RF gel together with CO[subscript2] activation is used to prepare the hierarchical pores structure. The suitable activation temperature is 700 – 900 [degrees Celsius] Whereas activation with steam and CO[subscript2] has effect on microporosity development. The bi – modal pores structure (micropore – macropore) can be obtained from steam and CO[subscript2] activation. Furthermore, the carbonization step is not required for activated RF carbon preparation.
Other Abstract: โครงสร้างของรีโซซินอล-ฟอร์มัลดีไฮด์ คาร์บอนที่มีรูพรุนเป็นลำดับขั้น โดยมีรูพรุนครบทั้ง 3 แบบ คือ ไมโครพอร์ – มีโซพอร์ - แมคโครพอร์ สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานหลากหลาย อาทิเช่น คอลัมน์ของลิควิดโครมาโตรกราฟสมรรถนะสูง หรือตัวรองรับตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งในการใช้งานเหล่านี้จำเป็นจะต้องมีโครงสร้างรูพรุนแบบมีโซพอร์ ประกอบกับการที่ของไหลต้องสามารถทะลุผ่านตลอดทั้งโครงสร้างได้ โดยการเตรียมให้ได้โครงสร้างที่มีรูพรุนแบบลำดับขั้นดังกล่าวนี้ สามารถเตรียมขึ้นโดยการกระตุ้นโครงสร้างที่มีรูพรุนแบบแมคโครพอร์ที่เชี่อมต่อ 3 มิติในภาวะของคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีแคลเซียมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา โดยอุณหภูมิที่ใช้ในการกระตุ้นควรมากกว่า 700 [degrees Celsius] แต่น้อยกว่า 900 [degrees Celsius] ส่วนในกรณีการกระตุ้นด้วยการใช้ไอน้ำและคาร์บอนไดออกไซด์นั้นพบว่ามีผลในการพัฒนารูพรุนแบบไมโครพอร์เท่านั้น ทำให้โครงสร้างรูพรุนที่ได้เป็นแบบไมโครพอร์ – แมคโครพอร์ นอกจากนี้ยังพบว่าไม่จำเป็นต้องมีการคาร์บอนิเซชันก่อนการกระตุ้นเพื่อพัฒนาความพรุนของรีโซซินอล-ฟอร์มัลดีไฮด์คาร์บอน
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60532
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2041
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.2041
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
patompong_ma_front.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
patompong_ma_ch1.pdf507.08 kBAdobe PDFView/Open
patompong_ma_ch2.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open
patompong_ma_ch3.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open
patompong_ma_ch4.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open
patompong_ma_ch5.pdf362.24 kBAdobe PDFView/Open
patompong_ma_back.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.