Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุดมลักษณ์ กุลพิจิตร-
dc.contributor.authorวิมลัก สรรคพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-07-10T04:20:10Z-
dc.date.available2019-07-10T04:20:10Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746320602-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62413-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนการสอนแบบไม่แบ่งแยกเพศที่มีต่อความสนใจในการเลือกของเล่นชนิดบ่งบอกเพศผู้เล่นของเด็กวัยอนุบาลเพศชายและเพศหญิงและเพื่อศึกษาพฤติกรรมการเล่นของเด็กวัยอนุบาลที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบไม่แบ่งแยกเพศ ผลการวิจัยพบว่า 1.เด็กวัยอนุบาลเพศชายที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบไม่แบ่งแยกเพศมีความสนใจในการเลือกของเล่นชนิดบ่งบอกความเป็นผู้หญิงสูงกว่าเด็กวัยอนุบาลเพศชายที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนตามแนวการจัดประสบการณ์ชั้นเด็กเล็ก สังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. เด็กวัยอนุบาลเพศหญิงที่ได้รับการเรียนการสอนแบบไม่แบ่งแยกเพศมีความสนในใจการเลือกของเล่นชนิดบ่งบอกความเป็นผู้ชายสูงกว่าเด็กวัยอนุบาลเพศหญิงที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนตามแนวการจัดประสบการณ์ชั้นเด็กเล็ก สังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เด็กวัยอนุบาลเพศชายที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบไม่แบ่งแยกเพศมีความเปลี่ยนแปลงความสนใจในการเลือกของเล่นชนิดบ่งบอกเพศผู้เล่นแตกต่างจากเด็กวัยอนุบาลเพศชายที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนตามแนวการจัดประสบการณ์ชั้นเด็กเล็ก สังกัดกรุงเทพมหานครอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เด็กวัยอนุบาลเพศหญิงที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบไม่แบ่งแยกเพศมีความเปลี่ยนแปลงความสนใจในการเลือกของเล่นชนิดบ่งบอกเพศผู้เล่นแตกต่างจากเด็กวัยอนุบาลเพศหญิงที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนตามแนวการจัดประสบการณ์ชั้นเด็กเล็ก สังกัดกรุงเทพมหานครอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. เด็กวัยอนุบาลที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบไม่แบ่งแยกเพศ เริ่มมีพฤติกรรมการเล่นสมมติที่เป็นบทบาทตรงข้ามกับเพศของตนเอง-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of non-sexist learning and teaching organization of preschool boys’ and girls’ sex-type toy selection and to study play behavior of preschool children who were taught by non-sexist learning and teaching organization. It was found that: 1. The interest in feminine sex-type toy selection of preschool boys who were taught by non-sexist learning and teaching organization had significantly been higher than preschool boys who learned by contemporary activities at the level .05 2. The interest in masculine sex-type toy selection of preschool girls who were taught by non-sexist learning and teaching organization had significantly been higher than preschool girls who learned by contemporary activities at the level .05 3. The change of interest in sex-type toy selection had not been a statistically significant difference between preschool boys who were taught by non-sexist learning and teaching organization and preschool boys who were taught by contemporary activities at the level of .05 4. The change of interest in sex-type toy selection had not been a statistically significant difference between preschool girls who were taught by non-sexist learning and teaching organization and preschool girls who were taught by contemporary activities at the level. of .05 5. The preschool children who were taught by non-sexist learning and teaching organization began to play the roles of their opposite sex.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectบทบาทตามเพศ-
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน-
dc.subjectการศึกษาขั้นอนุบาล -- ไทย-
dc.subjectSex role-
dc.subjectPreschool children-
dc.subjectKindergarten -- Thailand-
dc.titleผลของการจัดการเรียนการสอนแบบไม่แบ่งแยกเพศ ที่มีต่อความสนใจในการเลือกของเล่นชนิดบ่งบอกเพศผู้เล่นของเด็กวัยอนุบาล-
dc.title.alternativeEffects of non-sexist learning and teaching organization of preschool children's interest in sex-type toy selection-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineประถมศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vimluk_sa_front_p.pdf4.74 MBAdobe PDFView/Open
Vimluk_sa_ch1_p.pdf8.91 MBAdobe PDFView/Open
Vimluk_sa_ch2_p.pdf10.32 MBAdobe PDFView/Open
Vimluk_sa_ch3_p.pdf9.27 MBAdobe PDFView/Open
Vimluk_sa_ch4_p.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open
Vimluk_sa_ch5_p.pdf7.72 MBAdobe PDFView/Open
Vimluk_sa_back_p.pdf63.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.