Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65392
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรมะ สตะเวทิน-
dc.contributor.authorต่อตระกูล อุบลวัตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-19T14:24:01Z-
dc.date.available2020-04-19T14:24:01Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65392-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการนำรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางไปใช้ในการสอนของอาจารย์โรงเรียนสาธิตในกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 290 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรม SPSS10.0 for Windows และคำนวณโดยใช้ค่าสถิติ คือ ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว สหสัมพันธ์อย่างง่าย และสหสัมพันธ์ถดถอยพหุคูณแบบสเต็ปไวซ์ ผลการวิจัยพบว่า 1. อาจารย์ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ ตำแหน่งทางวิชาการ และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกันมีการเปิดรับข่าวสารที่ไม่แตกต่างกัน แต่มีความรู้ ทัศนคติ และการนำรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางไปใช้ในการสอนแตกต่างกัน 2. การเปิดรับข่าวสารจากสื่อมวลชน สื่อบุคคล และสื่อเฉพาะกิจไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้เรื่องรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 3. การเปิดรับข่าวสารจากสื่อมวลชน สื่อบุคคล และสื่อเฉพาะกิจไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 4. การเปิดรับข่าวสารจากสื่อมวลชน สื่อบุคคล และสื่อเฉพาะกิจมีความสัมพันธ์กับการนำรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางไปใช้ในการสอน 5. ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 6. ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมีความสัมพันธ์กับการนำรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางไปใช้ในการสอน 7. ทัศนคติต่อรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมีความสัมพันธ์กับการนำรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางไปใช้ในการสอน 8. ตัวแปรที่สามารถอธิบายการนำรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางไปใช้ในการสอนได้ดีที่สุดคือ ทัศนคติ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to examine the correlations among media exposure , knowledge , attitude , and implementation of Child-centered teaching of demonstration school teachers in Bangkok. Questionnaires were used to collect the data from 290 teacher samples . Frequency , percentage , mean , t-test , one-way ANOVA , Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient and Multiple Regression Analysis (Stepwise) were employed for the analysis of the data. SPSS 10.0 for Windows program was used for data processing. The results of the research were as follows : 1. Teachers different in sex , age , educational level , incomes , academic position , and work experiences were not significantly different in media exposure but were significantly different in knowledge , attitude , and implementation of Child-centered teaching . 2. Exposure to mass media , personal media , and specialized media did not correlate with knowledge of Child-centered teaching. 3. Exposure to mass media , personal media , and specialized media did not correlate with attitude toward Child-centered teaching. 4. Exposure to mass media , personal media , and specialized media correlated with implementation of Child-centered teaching. 5. Knowledge of Child-centered teaching correlated with attitude toward Child-centered teaching. 6. Knowledge of Child-centered teaching correlated with implementation of Child-centered teaching. 7. Attitude toward Child-centered teaching correlated with implementation of Child-centered teaching. 8. The variable which could best explain the implementation of Child-centered teaching was the attitude toward Child-centered teaching-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.523-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางen_US
dc.subjectระบบการเรียนการสอนen_US
dc.subjectการสื่อสารทางการศึกษาen_US
dc.subjectStudent-centered learningen_US
dc.subjectInstructional systemsen_US
dc.subjectCommunication in educationen_US
dc.titleการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการนำรูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางไปใช้ในการสอนของอาจารย์โรงเรียนสาธิตในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeMedia exposure, knowledge, attitude, and implementation of child-centered teaching among the demonstration school teachers in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorParama.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.523-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tortrakool_ub_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อและสารบัญ848.22 kBAdobe PDFView/Open
Tortrakool_ub_ch1_p.pdfบทที่ 1749.99 kBAdobe PDFView/Open
Tortrakool_ub_ch2_p.pdfบทที่ 22.49 MBAdobe PDFView/Open
Tortrakool_ub_ch3_p.pdfบทที่ 3766.78 kBAdobe PDFView/Open
Tortrakool_ub_ch4_p.pdfบทที่ 41.9 MBAdobe PDFView/Open
Tortrakool_ub_ch5_p.pdfบทที่ 51 MBAdobe PDFView/Open
Tortrakool_ub_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก931.56 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.