Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารีรัตน์ สุพุทธิธาดา-
dc.contributor.advisorธีระ วัชรปรีชานนท์-
dc.contributor.authorสุดคนึง เจริญพารากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-18T05:44:16Z-
dc.date.available2020-05-18T05:44:16Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740312276-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65850-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของการออกกำลังกายชนิดเพิ่มความทนทานแบบใช้แรงต้านต่อการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดของหญิงที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ชนิดเอวัน นํ้าหนักและภาวะแทรกซ้อนของทารกหลังคลอด กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงตั้ง ครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานชนิดเอวันที่มาฝากครรภ์และคลอดที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม จำนวน 36 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 20 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 16 คน กลุ่มทดลองได้รับการฝึกออกกำลังกายชนิดความทนทานแบบใช้แรงต้าน ทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองได้รับบริการจากคลินิกโรคต่อมไร้ท่อและคลินิกฝากครรภ์ตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นโปรแกรมการฝึก แบบบันทึกการฝึก และแบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS for Window version 10.0 เพื่อหาค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างทางสถิติโดยใช้ค่าสถิติ Unpaired t-test, Two-way ANOVA และMann-Whitney test ที่ระดับความเชื่อมั่น P < 0.05 ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับนํ้าตาลในเลือดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ( P > 0.05 ) แต่เฉพาะในกลุ่มทดลองเองมีค่าเฉลี่ยของระดับนํ้าตาลในเลือด 1 ชั่วโมงหลังอาหารแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( P < 0.05 ) (2) ค่าเฉลี่ยนํ้าหนักตัวทารกแรกคลอด ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ( P > 0.05 ) และไม่พบภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดในทารกทั้ง 2 กลุ่ม จากผลการศึกษานี้สรุปได้ว่า การออกกำลังกายชนิดเพิ่มความทนทาน โดยใช้แรงต้านในหญิงที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ชนิดเอวันไม่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง อยู่ในเกณฑ์ปกติได้-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this experimental research was to study the effect of endurance exercise with resistance in gestational diabetes mellitus class A, on blood glucose level, newborn weight and complications after birth. The samples were 36 pregnant women with GDM class A, who attended the endocrine clinic at King Chulalongkorn Memorial Hospital. All subjects were selected by purposive sampling and allocated into 2 groups for the experimental group and the control group; in the number 20 and 16, respectively. The experimental group received the endurance exercise with resistance program. All two groups received routine endocrine and pre-natal care. Data was analyses by SPSS for window program version 10.0 for frequency distribution, percentage, arithmetic mean, standard deviation and test for differential significant at the level p < 0.05 by Unpaired t-test, Two-way ANOVA, and Mann-Whitney U test. The results of the study revealed that (1) The levels of blood sugar in the exercise group and control group were not statistically significant different (p > 0.05) but 1-hour post prandial of blood sugar in the exercise group was significant different (p<0.05). (2) The mean of a newborn weight in the exercise group and control group were not statistically significant different (p >0.05). No complications after birth between 2 groups. According to this experiment, it can be concluded that the effect of endurance exercise with resistance cannot decreased blood sugar level.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการออกกำลังกายen_US
dc.subjectการรักษาด้วยการออกกำลังกายen_US
dc.subjectเบาหวานในสตรีมีครรภ์en_US
dc.subjectกายบริหารen_US
dc.titleผลของการออกกำลังกายชนิดเพิ่มความทนทานโดยใช้แรงต้านในหญิง ที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ชนิดเอวันต่อระดับน้ำตาลในเลือดen_US
dc.title.alternativeEffect of endurance exercise with resis tance in gestational diabetes mellitus class A1 on blood glucose levelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์การกีฬาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAreerat.Su@Chula.ac.th-
dc.email.advisorTeera.W@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sudcaneung_ch_front_p.pdf813.58 kBAdobe PDFView/Open
Sudcaneung_ch_ch1_p.pdf870.3 kBAdobe PDFView/Open
Sudcaneung_ch_ch2_p.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open
Sudcaneung_ch_ch3_p.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Sudcaneung_ch_ch4_p.pdf743.8 kBAdobe PDFView/Open
Sudcaneung_ch_ch5_p.pdf869.51 kBAdobe PDFView/Open
Sudcaneung_ch_back_p.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.