Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริเชษฐ์ สังขะมาน-
dc.contributor.authorชัยวัฒน์ ประสงค์สร้าง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.coverage.spatialThailand-
dc.coverage.spatialBangkok-
dc.date.accessioned2020-05-24T19:53:04Z-
dc.date.available2020-05-24T19:53:04Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.issn9741762275-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65969-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภาวะผู้นำและกลไกการทำงานของชุมชนกับความสำเร็จในการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนในกรุงเทพมหานคร โดยการวิจัยครั้งนี้ได้เลือกศึกษาเฉพาะชุมชนที่ประสบความสำเร็จ ได้รับรางวัลการพัฒนาชุมชนดีเด่นด้านสิ่งแวดล้อมปี พ.ศ. 2545 ในกรุงเทพมหานคร อันดับที่ 1 - 3 ได้แก่ 1) ชุมชนพูนบำเพ็ญ เขตภาษีเจริญ 2) ชุมชนหมู่บ้านสุขสุวรรณ เขตพระโขนง 3) ชุมชนคลองทับช้างล่าง เขตสะพานสูง การเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีการสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนทุกครัวเรือนตามแบบสอบถาม ใน 3 ชุมชน จำนวน 274 ตัวอย่างและเลือกสัมภาษณ์แบบเจาะลึก จำนวน 9 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ยร้อยละและแบบการจำแนกชนิดข้อมูล (Typological analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. ผู้นำชุมชนพูนบำเพ็ญ ใช้ภาวะผู้นำแบบการสร้างบารมีมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ภาวะผู้นำแบบการสร้างแรงดลใจ แบบการกระตุ้นการใช้ปัญญา และแบบมุ่งความสัมพันธ์เป็นรายบุคคล ตามลำดับ สำหรับกลไกการทำงานภายในชุมชน พบว่า ผู้นำชุมชนได้ใช้กลไกด้านเครือญาติภายในชุมชน การจัดการแบบ PDCA (การวางแผน, การปฏิบัติงาน, การตรวจสอบ, การปรับปรุงแก้ไข) และหลักพรมวิหารสี่ 2. ผู้นำชุมชนบ้านสุขสุวรรณใช้ภาวะผู้นำ แบบการสร้างแรงดลใจ มากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ภาวะผู้นำแบบการสร้างบารมี แบบการกระตุ้นการใช้ปัญญา และแบบมุ่งความสัมพันธ์เป็นรายบุคคล ตามลำดับ สำหรับกลไกการทำงานภายในชุมชน พบว่า ผู้นำชุมชนได้ใช้กลไกด้านการจัดการอย่างเดียว คือ การจัดการแบบมีส่วนร่วม 3. ผู้นำชุมชนคลองทับช้างล่าง ใช้ภาวะผู้นำแบบสร้างบารมี มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ภาวะผู้นำแบบการสร้างแรงดลใจ แบบการกระตุ้นการใช้ปัญญา และแบบมุ่งความสัมพันธ์เป็นรายบุคคล ตามลำดับ สำหรับ ด้านกลไกการทำงานภายในชุมชน พบว่า ผู้นำชุมชนได้ใช้กลไก ด้านเครือญาติภายในชุมชน และด้านศาสนา-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the leadership and work dynamic of communities that were succeeded in environmental communities’ development in Bangkok Metropolis. The population used in the study comprised 274 heads of household in three communities. They are Poonbumpen community, Bansuksuwan community and Klongtubchanglang community. The data collection methods were interview using questionnaire schedule and in-depth interview using an interview guide with a small number of selected samples. The obtained data were analyzed using of percentage, mean, and typological analysis. The results indicated that: 1.The leader of Poobumpen community used charisma or Idealized Influence Style at high level. The work approach was that of patronage and management in PDCA (planning, doing, checking, and acting) style, as well as the Brahmavihara Dhamma 2. The leader of Bansuksuwan community used Inspirational Motivation Style at high level. The work approach was participatory management. 3. The leader of Klongtubchanglang community use charisma or Idealized Influence Style at high level. The work approach includes the internal community management, equity, patronage system and religion.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาวะผู้นำen_US
dc.subjectความสำเร็จen_US
dc.subjectการพัฒนาชุมชน -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectการจัดการสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectLeadershipen_US
dc.subjectSuccessen_US
dc.subjectCommunity development -- Thailand -- Bangkoken_US
dc.subjectEnvironmental managementen_US
dc.titleภาวะผู้นำกับความสำเร็จในการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeLeadership and success in environmental community development in Bangkok metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพัฒนามนุษย์และสังคมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSirichet.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chaiwat_pr_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ932.2 kBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_pr_ch1_p.pdfบทที่ 11.07 MBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_pr_ch2_p.pdfบทที่ 22.15 MBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_pr_ch3_p.pdfบทที่ 3855.11 kBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_pr_ch4_p.pdfบทที่ 43.29 MBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_pr_ch5_p.pdfบทที่ 5799.88 kBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_pr_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก4.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.